ระบบควบคุมอัตโนมัติทางการเกษตร

Automatic Control System for Agriculture

1. นักศึกษาฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์ได้
2. นักศึกษาฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การวัดและการจัดระดับสัญญาณ วงจรสัญญาณเงื่อนไข อุปกรณ์ตัวชักนำ และการควบคุม อุปกรณ์ควบคุมชนิดโปรแกรม ฟังก์ชั่นก์ได้
3. นักศึกษาฝึกปฏิบัติใช้โปรแกรมอุปกรณ์การควบคุมและประยุกต์การใช้งานทางด้านการเกษตร อาทิเช่น โปรเจค หรือปัญหาพิเศษได้
1.  มีความเข้าใจเกี่ยวเครื่องมือ และอุปกรณ์เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์
2.  เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานในการใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์การวัดและการจัดระดับสัญญาณ วงจรสัญญาณเงื่อนไข อุปกรณ์ตัวชักนำ
3.  เพื่อให้เข้าใจในระบบงานไฟฟ้า การควบคุม อุปกรณ์ควบคุมชนิดโปรแกรม ฟังก์ชั่นก์
4.  นำหลักการ และความรู้มาประยุกต์ใช้กับงานด้านอื่นๆได้
 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์ การวัดและการจัดระดับสัญญาณ วงจรสัญญาณเงื่อนไข อุปกรณ์ตัวชักนำ และการควบคุม อุปกรณ์ควบคุมชนิดโปรแกรม ฟังก์ชั่นก์ และโปรแกรมอุปกรณ์การควบคุม การประยุกต์การใช้งานทางด้านการเกษตร
1 ชั่วโมง ชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษา และแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กำหนด และตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน และการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2. สอดแทรกด้านคุณธรรมจริยธรรม ความอดทน การตรงต่อเวลา และความซื่อสัตย์
1.พฤติกรรมการตรงต่อเวลา ได้แก่ การเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา เป็นต้น
2.พฤติกรรมการปฏิบัติตัวทั้งในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียน ได้แก่ การมีสัมมาคารวะและนอบน้อม การช่วยเหลือผู้อื่น เป็นต้น
3.ประเมินผลการนำเสนองานที่มอบหมาย ได้แก่ รายงาน การบ้าน เป็นต้น
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย หรือ นำเสนอหน้าชั้นเรียน
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
5. กระบวนการสร้างโจทย์ปัญหาสมมติ เพื่อใช้แก้ปัญหา (Case Studies)
6. การสอนแบบบรรยาย และถาม-ตอบ
1.สถานการณ์จำลอง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม หรืองานวิเคราะห์เดี่ยว
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
6.การฝึกตีความ หรือการตีโจทย์
7.การทดสอบวัดผลโดยข้อสอบ
 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสร้างโจทย์ปัญหาสมมติ เพื่อใช้แก้ปัญหา (Case Studies)
2. การสอนมีการสอดแทรกการลงฝึกปฏิบัติการจริงในบางหน่วย เพื่อให้เกิดความชัดเจน
3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
4. การสอนแบบบรรยาย และถาม-ตอบ 
1.สถานการณ์จำลอง
2.สมุดงาน และการบันทึก
3.การสังเกต
4.การนำเสนองาน
5.การฝึกตีความ
6.การทดสอบโดยใช้ข้อสอบ
7.การนำเสนอแนวคิด และข้อคิดเห็น
 4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานที่มีต้องมีการใช้ความร่วมมือกันภายในกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาที่ได้รับมอบหมาย
2. มีการให้แสดงความเห็นและเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาที่พบ
1. ผลงานที่ได้จากการลงปฏิบัติรายกลุ่ม/แบบฝึกปฏิบัติ
2. การแสดงความเห็น
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม และทำการฝึกซ้อม โดยให้นักศึกษามีการแลกเปลี่ยนความรู้ในการแก่ปัญหาให้กับเพื่อนนักศึกษาด้วยกันเอง
2. มีการควบคุมระยะเวลาในการฝึกลงมือปฏิบัติงานให้แล้วเสร็จตามเวลาที่กำหนด
- ปริมาณข้อมูลการนำเสนองานและแนวคิดในการแก้ไขปัญหา ได้แก่ โจทย์ปัญหาในห้องเรียน การบ้าน งานมอบหมาย เป็นต้น
- จำนวนการสอบถามข้อสงสัยในข้อมูลที่มอบหมาย
- ความสามารถในการแก้ไขปัญหา และตอบคำถาม
 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
 6.2 มีทักษะทางด้านการสอนในสายวิชาชีพที่เด่นชัด
1. ให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม และทำการฝึกซ้อม โดยให้นักศึกษามีการแลกเปลี่ยนความรู้ในการแก่ปัญหาให้กับเพื่อนนักศึกษาด้วยกันเอง
2. มีการควบคุมระยะเวลาในการฝึกลงมือปฏิบัติงานให้แล้วเสร็จตามเวลาที่กำหนด
1. สังเกตพฤติกรรมการแนะนำเพื่อนระหว่างการปฏิบัติ
2. จับเวลาระหว่างการฝึกปฏิบัติ และทดสอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ มีทักษะทางด้านการสอนในสายวิชาชีพที่เด่นชัด
1 BSCFM126 ระบบควบคุมอัตโนมัติทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 4.1, 4.2, 6.1 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 4.3, 4.4, 5.1, 5.2, 5.3 การทดสอบย่อย สัปดาห์ที่ 4 และ 12 30%
3 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 4.3, 4.4, 5.1, 5.2, 5.3 สอบกลางภาค 8 25%
4 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 4.3, 4.4, 5.1, 5.2, 5.3 สอบปลายภาค 17 25%
5 2.1, 3.1, 6.1, 6.2 แบบฝึกรายงาน ชิ้นงาน 15 10%
สุเธียร เกียรติ์สุนทร ระบบอัตโนมัติทางอุตสาหกรรม พีแอลซีกับระบบอัตโนมัติทางอุตสาหกรรม ซีเอ็ดยูเคชั่น, บมจ.
ศศิมาภรณ์ มงคลพิทักษ์  ระบบอัตโนมัติและตรวจสอบการทำงานสำหรับเกษตรอัจฉริยะ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
http://www.atom.rmutphysics.com/charud/PDF-learning/2/measurement/Measurement.pdf https://sites.google.com/a/bncc.ac.th/patcharapol-1/home/bth-thi-7-porkaerm-khwbkhum-xupkrn http://aimagin.com/blog/ควบคุมอัตโนมัติเกษตร/?lang=th
เวปไซต์เกี่ยวกับการศึกษาระบบอัตโนมัติทางการเกษตร
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 เพิ่มแนวทางการวิเคราะห์ปัญหาที่ทันต่อเทคโนโลยี และปัญหาที่ไม่เคยพบเห็นมาก่อน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ