แม่พิมพ์อุตสาหกรรม

Industrial Mold Making

รู้และเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตแม่พิมพ์ระบบอุตสาหกรรม เครื่องมือเครื่องจักรและวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตแม่พิมพ์อุตสาหกรรม หลักการผลิตแม่พิมพ์อุตสาหกรรม การผลิตแม่พิมพ์เรซิ่น และแม่พิมพ์ยาง การใช้งานแม่พิมพ์อุตสาหกรรม ปัญหา แนวทางป้องกันและแก้ไขในการผลิตแม่พิมพ์อุตสาหกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ  และทักษะ  หลักการทำแม่พิมพ์อุตสาหกรรม  เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตแม่พิมพ์ระบบอุตสาหกรรม เครื่องมือเครื่องจักรและวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตแม่พิมพ์อุตสาหกรรม หลักการผลิตแม่พิมพ์อุตสาหกรรม การผลิตแม่พิมพ์เรซิ่น และแม่พิมพ์ยาง การใช้งานแม่พิมพ์อุตสาหกรรม ปัญหา แนวทางป้องกันและแก้ไขในการผลิตแม่พิมพ์อุตสาหกรรม
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
     1.  ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
     2.  มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง
     3.  เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
     4.  เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
     5.  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
มีความรู้และเข้าใจวิธีการใช้เครื่องมือและการผลิตแม่พิมพ์อุตสาหกรรมในแต่ละส่วนตั้งแต่การทำพิมพ์ปูนปลาสเตอร์,แม่พิมพ์เรซิ่น, แม่พิมพ์ยางซิลิโคน การใช้งานแม่พิมพ์อุตสาหกรรมรวมถึงการแก้ปัญหาและหาแนวทางป้องกันในการผลิตแม่พิมพ์อุตสาหกรรม
บรรยาย  ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงานทำแม่พิมพ์อุตสาหกรรม
     1.  สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
     2.  ประเมินจากการปฏิบัติงาน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการทำแม่พิมพ์อุตสาหกรรม
 บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
     1.  การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
     1.  สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการเขียนแบบ
     2.  วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
     3.  สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
    1.  พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
     2.  พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
     1.  มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
     2.  การนำเสนอรายงาน
ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
     1.  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ 
     2.  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
     3.  ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
     1.  ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
     2.  พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง  การเขียน
     3.  พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
     4.  ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
     1.  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
     2.  นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
     1.  ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
     2.  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขเเละการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย (ทักษะวิชาชีพ)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 2 3 1 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BTECE123 แม่พิมพ์อุตสาหกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-5.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 16 10% 10%
2 2.2-3.4 ส่งงานผ่านระบบออนไลน์ ตลอดภาคการศึกษา 70%
3 1.1-5.2 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.   การศึกษานอกโรงเรียนภาคเหนือ,กรม. ชุดวิชาการสร้างแม่พิมพ์หล่อน้ำดิน. มปป.
2.   ทรงพันธุ์  วรรณมาศ. เครื่องปั้นดินเผา. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์,2532.
3.   ทวี  พรหมพฤกษ์. เครื่องเคลือบดินเผาเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์,2523.
4.   บริษัท สยามซานิทารีแวร์ อินดัสทรี จำกัด. เอกสารประกอบปูนปลาสเตอร์สำหรับเครื่องแรมเพรส.
5.   บริษัท สยามโมลดิ้งพลาสเตอร์ จำกัด. เอกสารประกอบปูนปลาสเตอร์ SMP , สระบุรี. มปป.
6.   ปุณณรัตน์  พิชญไพบูลย์. เครื่องเคลือบดินเผาเทคนิคและวิธีการสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
7.   ประสพ  ลี้เหมือดภัย. องค์ประกอบในงานเครื่องปั้นดินเผา. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, 2541.
8.   พิชิต  เลี่ยมพิพัฒน์, ส.จิว  มานะศิลป์. พลาสติกหล่อ. กรุงเทพมหานคร : 2521.
9.   พิชิต  เลี่ยมพิพัฒน์. พลาสติกหล่อ. กรุงเทพมหานคร : 2523.
10. ไพจิตร  อิ่งศิริวัฒน์. เนื้อดินเซรามิกส์. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์,2541.
11.  วิเชียร  อินทรกระทึก. ประติมากรรม  : วิทยาลัยอาชีวศึกษา,2539.
12.  ส่งเสริมอุตสาหกรรม,กรม. เอกสารประกอบการฝึกอบรม การทำแม่พิมพ์ปูนปลาสเตอร์  :  ศูนย์พัฒนาเครื่องเคลือบดินเผา ภาคเหนือ,2543.
13.  ศูนย์ประติมากรรมกรุงเทพมหานคร. ART  RECORD.กรกฏาคม – สิงหาคม : 2546.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
     1.  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
     2.  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
     1.  การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
     2.  ผลการเรียนของนักศึกษา
     3.  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
     1.  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
     1.  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
   2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
     1.  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
     2.  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์