การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าและนิวแมติก

Electrical Control Motor and Pneumatic

   เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจระบบไฟฟ้าโรงงาน  การต่อมอเตอร์ หลักการควบคุมมอเตอร์และการควบคุมนิวแมติกไฟฟ้า  การเลือกใช้อุปกรณ์ควบคุมในงานอุตสาหกรรม  ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟ้าในตู้ควบคุมระบบไฟฟ้า    การควบคุมมอเตอร์และนิวแมติกไฟฟ้า   
  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานระบบไฟฟ้าโรงงาน  การต่อมอเตอร์ การควบคุมมอเตอร์และนิวแมติกไฟฟ้า   สามารถนำเทคโนโลยีงานควบคุมทางอุตสาหกรรมสมัยใหม่ไปใช้สอนช่างเทคนิค
              ศึกษาเกี่ยวกับการเลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าในงานควบคุม หลักการทำงานของอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมมอเตอร์ ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการควบคุมการสตาร์ทมอเตอร์แบบต่างๆ การควบคุมมอเตอร์แบบอัตโนมัติ  อุปกรณ์นิวเมติกส์และการควบคุมระบบนิวเมติกส์ไฟฟ้าในงานอุตสาหกรรม
 
-  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
แสดงออกซึ่งจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพครู ที่เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน สามารถจัดการและคิดแก้ปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู แสดงออกซึ่งการมีวินัย ขยัน อดทน เสียสละ ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 บรรยายพร้อมสื่อการสอนวิดิทัศน์เกี่ยวกับการควบคุมมอเตอร์และนิวแมติกไฟฟ้า   ฝึกปฏิบัติงานเดินสายไฟฟ้าในตู้ควบคุมระบบไฟฟ้า       3  ฝึกปฏิบัติงานควบคุมมอเตอร์และนิวแมติกไฟฟ้า       4. กำหนดให้นักศึกษาฝึกออกแบบควบคุมเครื่องจักรอุตสาหกรรมทำงานตามเงื่อนไข
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลปฏิบัติงานและการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้าโรงงาน   การต่อมอเตอร์   ระบบควบคุมมอเตอร์และระบบนิวแมติกไฟฟ้า การเลือกใช้อุปกรณ์ในงานควบคุมไฟฟ้า  มีทักษะการเดินสายไฟฟ้าในตู้ควบคุมระบบไฟฟ้า   การควบคุมมอเตอร์และนิวแมติกไฟฟ้า  พื้นฐานการออกแบบควบคุมงานอุตสาหกรรม  
บรรยาย  อภิปราย สาธิต  การฝึกปฏิบัติงาน การนำเสนอรายงาน มอบหมายให้ค้นคว้าเกี่ยวกับระบบควบคุมมอเตอร์และนิวแมติกไฟฟ้า  เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการฝึกปฏิบัติงานและนำเสนอรายงาน     
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์เงื่อนไขการทำงานระบบควบคุม   เลือกใช้เทคโนโลยีงานควบคุมไฟฟ้าให้เหมาะสม และประหยัดพลังงาน
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาฝึกงานอ่าน-เขียนแบบไฟฟ้า และการปฏิบัติงานควบคุมไฟฟ้า
3.2.2   วิเคราะห์กรณีศึกษา  เลือกใช้เทคโนโลยีการควบคุมไฟฟ้าที่เหมาะสมและประหยัดพลังงาน
3.2.3   การสะท้อนแนวคิดจากประพฤติกรรม
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้งานการควบคุมไฟฟ้า
3.3.2   วัดผลจากการฝึกปฏิบัติงาน  การนำเสนอผลงาน

สังเกตพฤติกรรมก ารเรียน

 
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   ฝึกปฏิบัติงานรายบุคคล
4.2.2  มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของระบบควบคุมอัตโนมัติ
4.2.3   การนำเสนอรายงานหลังฝึกปฏิบัติงาน
4.3.1   ประเมินผลการปฏิบัติงาน
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ   
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
โดยใช้รูปแบบ เครื่อ
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อผิดพลาดจากการปฏิบัติงาน
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5    ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ควบคุมไฟฟ้าให้ถูกต้อง  ปลอดภัย
5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงาน
งมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีการควบคุมไฟฟ้าที่เหมาะสมและประหยัดพลังงาน
5.3.1   ประเมินจากการฝึกปฏิบัติงานควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติก
5.3.2   ประเมินจากรายงานการปฏิบัติงาน
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยงานภายในและภายนอก จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา สนับสนุนการทำโครงงาน สหกิจศึกษา/ฝึกงานทางวิศวกรรมในสถานประกอบการ
มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ มีการประเมินโครงงานของนักศึกษา มีการประเมินนักศึกษาในวิชาสหกิจศึกษา/ฝึกงานทางวิศวกรรม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขฯ ุ6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDEE109 การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าและนิวแมติก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 1-3 บทที่1-3 บทที่ 4 บทที่ 4-5 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบ ย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 1ึ7 10% 20% 10% 20%
2 บทที่ 1-5 ฝึกปฏิบัติงานควบคุมมอเตอร์และนิวแมติก รายงานผลการประลอง ค้นคว้า การนำเสนอ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 บทที่ 1-5 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน/บันทึกงาน ตลอดภาคการศึกษา 10%
การควบคุมมอเตอร์และนิวแมติกไฟฟ้า โดย ผศ.นิพนธ์  เรืองวิริยะนันท์
    เอกสารประกอบการสอนการควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติกส์
ไม่มี
G.Prede and D.Scholz : Electro pneumatics  Textbook.
                 Klockner Moeller :  Wiring Manual  Automationand Power Distribution
                 WALTER N.ALERICH : Electric motor control  DELMAR PUBLISHERS.Inc. 1998,
                 W.H.TIMBIE and F.G.WILLSON : INDUSTRIAL  ELECTRICITY Volume Two
                    A.C.Practice  JOHN WILEY & SONS, Inc.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อการควบคุมมอเตอร์ , นิวแมติกไฟฟ้า
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การฝึกประลองการควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติกส์  นำเสนอสรุปผลการประลองการควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติกส์ แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ