การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ

Aquatic Animal Breeding

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการพ่อแม่พันธุ์สัตว์น้ำ พัฒนาการและการควบคุมระบบสืบพันธุ์ของสัตว์น้ำ การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ การอนุบาลและการให้อาหาร การจับ การลำเลียง และการจำหน่ายลูกพันธุ์สัตว์น้ำ
มีความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการพ่อแม่พันธุ์สัตว์น้ำ มีความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการและการควบคุมระบบสืบพันธุ์ของสัตว์น้ำ มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ มีความเข้าใจเกี่ยวกับการอนุบาลและการให้อาหารสัตว์น้ำ มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเกิดโรคและการป้องกันโรคในสัตว์น้ำ มีความเข้าใจเกี่ยวกับการจับ การลำเลียง และการจำหน่ายลูกพันธุ์สัตว์น้ำ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการพ่อแม่พันธุ์สัตว์น้ำ พัฒนาการและการควบคุมระบบสืบพันธุ์ของสัตว์น้ำ การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ การอนุบาลและการให้อาหาร การจับ การลำเลียง และการจาหน่ายลูกพันธุ์สัตว์น้ำ
3.1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง FS201 โทร 091-8396241 
3.2  E-mail; mr1fisheries@hotmail.com   เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
š 1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมสาธารณะ š 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ ˜ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม š 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
แบ่งกลุ่มนักศึกษารับผิดชอบงานในการฝึกแต่ละฐาน กลุ่มละไม่เกิน 5 คน และปฏิบัติงานเว้นระยะห่าง ตามหลัก Social distancing
- ร้อยละ 90 ของนักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา
- ร้อยละ 95 ของนักศึกษา ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนด
- ไม่มีการทุจริตในการสอบ หรือไม่มีการลอกรายงานหรือลอกการบ้าน
˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ที่ศึกษา ˜ 2.2  สามารถติดตามความก้าวหน้ำทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา ˜ 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในสาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
แบ่งกลุ่มนักศึกษารับผิดชอบงานในการฝึกแต่ละฐาน กลุ่มละไม่เกิน 5 คน และปฏิบัติงานเว้นระยะห่าง ตามหลัก Social distancing
- ทดสอบความเข้าใจโดยจะมีการสอบย่อย รวมทั้งวัดความรู้โดยการสอบกลางภาคเรียนและการสอบปลายภาคเรียน
- ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน และรายงานที่นำส่ง
3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
แบ่งกลุ่มนักศึกษารับผิดชอบงานในการฝึกแต่ละฐาน กลุ่มละไม่เกิน 5 คน และปฏิบัติงานเว้นระยะห่าง ตามหลัก Social distancing
- โดยการทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน
4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี


4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
แบ่งกลุ่มนักศึกษารับผิดชอบงานในการฝึกแต่ละฐาน กลุ่มละไม่เกิน 5 คน และปฏิบัติงานเว้นระยะห่าง ตามหลัก Social distancing
- ประเมินจากกระบวนการทำงาน การจัดระบบการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- ประเมินจากความเข้าใจในกระบวนการทำงานและการแบ่งงานกันทำตามความเหมาะสมในการออกปฏิบัติภาคสนาม
˜ 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม š 5.2 สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม ˜ 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แบ่งกลุ่มนักศึกษารับผิดชอบงานในการฝึกแต่ละฐาน กลุ่มละไม่เกิน 5 คน และปฏิบัติงานเว้นระยะห่าง ตามหลัก Social distancing
- ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย ว่ามีการใช้วารสาร หนังสือ หรือฐานข้อมูลเชิงวิชาการ


 
 
 
- ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
6.1 มีทักษะในการใช้ความรู้เพื่อดำเนินงานบนมาตรฐานที่ดีในการผลิตที่ดีทางการประมง 6.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ
 
แบ่งกลุ่มนักศึกษารับผิดชอบงานในการฝึกแต่ละฐาน กลุ่มละไม่เกิน 5 คน และปฏิบัติงานเว้นระยะห่าง ตามหลัก Social distancing
ประเมินจากโครงการกลุ่มในการวางแผนการดำเนินงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 1 1 1 1 1
1 BSCAG303 การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 2.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 4.1, 4.2, 4.3, 4.4, 6.1, การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 3.1, 3.2, การทดสอบย่อย 3 ครั้ง 4,6,10 5%
4 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 การสอบกลางภาค 8 5%
5 5.1, 5.2, 5.3 การนำเสนองาน/การรายงาน 14 20%
6 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 การสอบปลายภาค 16 60%
คณะกรรมการอานวยการควบคุมการติดเชื้อและติดต่อ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.(2557). คู่มือและระเบียบปฏิบัติการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ ปี 2557-2560. ขอนแก่น: คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. บุญชัย เจียมปรีชา และสามารถ  เปรมกิจ. (2533). ปัญหา และการแก้ไขการเลี้ยงกุ้งกุลาดำที่จังหวัดเพชรบุรี. ศูนย์พัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งสมุทรสาคร, กองเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง, กรมประมง. เอกสารวิชาการฉบับที่ 30/2533, 15 หน้ำ. ชลอ ลิ้มสุวรรณ. (2534). คัมภีร์การเลี้ยงกุ้งกุลาดำ. สำนักพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ, กรุงเทพฯ. เอกชัย ดวงใจ. (2557). เอกสารและสื่อประกอบการเรียนการสอน รายวิชาปฏิบัติการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน. 239 หน้ำ กรมประมง. (2557). แนวปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดีสำหรับฟาร์มเลี้ยงสัตว์น้ำจืด สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 92 หน้ำ Boyd, C.E. (1990). Water Quality in Ponds for Aquaculture of Fisheries. Department of Fisheries and Allied Aquaculture Department, Auburn University, Auburn, Alabama. 482 p. ยนต์ มุสิก. คุณภาพน้ำกับกำลังผลิตของบ่อปลา. (2542). ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. ไมตรี ดวงสวัสดิ์ และจารุวรรณ สมศิริ. (2528). คุณสมบัติของน้ำและวิธีวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางการประมง. สถาบันวิจัยประมงน้ำจืดแห่งชาติ, กรมประมง. 133 หน้ำ. ไมตรี ดวงสวัสดิ์ และจารุวรรณ สมศิริ. (2538). คุณสมบัติของน้ำและวิธีการวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางประมง. ฝ่ายวิจัยสิ่งแวดล้อม. สถาบันประมงน้ำจืดแห่งชาติ. กรมประมง. 115 หน้ำ. สมหมาย เชี่ยววารีสัจจะ. (2539). เอกสารการสอนจัดการคุณภาพน้ำ. ภาควิชาวาริชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. กมลพร ทองอุทัย และสุปราณี ชินบุตร. (2537). การป้องกันและกำจัดโรคปลา. สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำ. กรมประมง. 30 หน้ำ. ประไพสิริ สิริกาญจน. (2546). ความรู้เรื่องปรสิตของสัตว์น้ำ. ภาควิชาชีววิทยาประมง คณะประมงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน. 270 หน้ำ. องอาจ เลาหวินิจ. (2544). สารที่นิยมใช้ในการเลี้ยงกุ้ง. กรุงเทพมหานครฯ. มะลิ บุณยรัตนผลิน นิพนธ์ ศิริพันธุ์ และศิริ ทุกข์วินาศ. (2546). การเลี้ยงกุ้งทะเลระบบอินทรีย์. กรมประมง. 115 หน้ำ. กรมประมง. (2546). ระเบียบและการปฏิบัติการเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกรามตามมาตรฐาน จี เอ พี พ.ศ. 2546. สำนักวิจัย และพัฒนาประมงน้ำจืด กรมประมง, กรุงเทพฯ. พุทธ ส่องแสงจินดา. (2546). ออกซิเจนกับการจัดการเลี้ยงกุ้งและการพัฒนา. น. 224-229. ใน สุรศักดิ์ ดิลกเกียรติ. กุ้งไทย ก้าวใหม่ สู่หนึ่งในผู้นำกุ้งโลกอย่างยั่งยืน. โรงพิมพ์ ก.พล.กรุงเทพฯ. สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล. (2546). ระเบียบและวิธีปฏิบัติในการผลิตกุ้งทะเลตามมาตรฐาน จีเอพี พ.ศ. 2546. สำนักวิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่ง กรมประมง. กรมประมง. (2547). มาตรฐานการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ของประเทศไทย. สำนักพัฒนาและ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการประมง, กรมประมง. 19 หน้ำ. กรมประมง. (2548). การตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) ปัญหาสารตกค้างในกุ้ง.กรุงเทพมหานคร: กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. บอลตัล ดับบลิว. (2543). การวัดและการทดสอบไฟฟ้าและอิเล็ดทรอนิกส์. บริษัท ซีเอ็ดยูแคชั่น จำกัด. เดชา ภัทรมูล. (2547). งานไฟฟ้าและอิล็กทรอนิกส์เบื้องต้น. บริษัท สกายบุกส์ จำกัด กรุงเทพ. ไมตรี ดวงสวัสดิ์. (2526). คุณสมบัติของน้ำกับการเลี้ยงปลา. สถาบันประมงน้ำจืดแห่งชาติ, 1-23 หน้ำ.

ลัดดา วงศ์รัตน์. (2542). แพลงก์ตอนพืช. พิมพ์ครั้งที่ 2. สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
อุทัยรัตน์ ณ นคร.  2531.  การเพาะขยายพันธุ์ปลา.  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.
[1] สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 6 นนทบุรี. (2557). การตรวจวัดปริมาณความเข้มข้นของแอมโมเนีย (Ammonia: NH3) โดยวิธีฟีเนต (Phenate Method) คู่มือปฎิบัติการวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม [ระบบออนไลน์]  แหล่งที่มา: http://reo06.mnre.go.th.   
[2] กรมประมง.(2548).ระเบียบกรมประมงว่าด้วยการประกาศรับรองให้ออกหนังสือกำกับการจำหน่ายสัตว์น้ำ พ.ศ. 2548 [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา: http://www.fisheries. go.th.
[3] รามคำแหง. (2557). ปฏิบัติการทางเคมีวิเคราะห์ (Analytical Chemistry Laboratory)  [ระบบออนไลน์]  แหล่งที่มา: http://e-book.ram.edu.
[4] ไทยเกษตรศาสตร์. (2557). การลำเลียงพันธุ์สัตว์น้ำ [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา : http://www.thaikasetsart.com.
[5] World Organisation for Animal Health (OIE). (2009a). Aquatic Animal Health Code, 12th Edition. Aquatic Animals Commission, OIE, Paris, France. [Online]. Available: http://www.oie.int.
[6] กรมประมง. (2557). การวางผังฟาร์มเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำวัยอ่อนระดับโรงเพาะฟักสัตว์น้ำ ศูนย์วิจัยและพัฒการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดอุทัยธานี [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา: http://www.fisheries.go.th.
[7] Dersu balin. (2013). Trout Farm Fethiye [Online]. Avaliable: http://dersufish.com.
[8] สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด กรมประมง. (2555). โครงการยกระดับมาตรฐานฟาร์มปลานิลเพื่อการส่งออก. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา: http://www.fisheries.go.th.
[9] ไทยเกษตรศาสตร์. (2557). การจัดการฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา : http://www.thaikasetsart.com.
[10] กรมประมง. (2557). มาตรฐานการจัดการฟาร์มเพาะเลี้ยงปลาสวยงามเพื่อการส่งออก [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา: http://www.fisheries.go.th.
[11] Gidon minkoff. (2013). Hatchery design. [Online]. Avaliable: http://www.fish-hatchery-consulting.com.
[12] ไทยเกษตรศาสตร์. (2557). การออกแบบและสร้างที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา : http://www.thaikasetsart.com.
[13] Paul, S.I. (2013). Comparative study between shellfish hatchery and finfish hatchery. [Online]. Avaliable: https://www.slideshare.net.
[14] สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2555). แนวทางการประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพประเภทการเลี้ยงสัตว์น้ำ. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา: http://env.ana mai.moph.go.th.
[15] กรมประมง. (2557). E-book การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ด้านการประมง [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา: http://www.fisheries.go.th.
[16] วงศ์วรุตม์ บุญญานุโกมล. (2557). คู่มือความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ (Manual of Laboratory Safety) ห้องปฏิบัติการกลางสำหรับการเรียนการสอนและวิจัย โครงการจัดตั้งวิทยาเขตอำนาจเจริญ มหาวิทยาลัยมหิดล [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา: http://www.am. mahidol.ac.th.
[17] วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2557). การเพาะเลี้ยงพืชและสัตว์ในน้ำ [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org.
กรมประมง. (2556). การเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลระบบปิด [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา : http://www1.fisheries.go.th.
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง