การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม

Cross Cultural Communication

-    เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจความเหมือนและความต่างด้านวัฒนธรรมการสื่อสาร -    เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจความแตกต่างของบุคคลที่มีผลต่อการสื่อสาร -    เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจปริบทการสื่อสารในสังคมไทยเปรียบเทียบกับปริบทต่างประเทศ -    เพื่อให้มีทักษะการติดต่อสื่อสาร ทั้งการใช้วัจนภาษาและอวัจนภาษา
 
-    เพื่อพัฒนาทักษะการใช้ภาษาตะวันตกในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมในวัฒนธรรมที่แตกต่าง -    เพื่อให้สามารถใช้ภาษาตะวันตกเป็นเครื่องมือในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ -    เพื่อพัฒนากิจนิสัยในการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเอง -    เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่อภาษาตะวันตก
       ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างด้าน วัฒนธรรมการสื่อสาร ระหว่างประเทศและในแต่ละภูมิภาค การประยุกต์ใช้ กลวิธีการสื่อสาร ศิลปะในการฟัง พูด วัจนะ และอวัจนภาษาอย่าง มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ ในบริบทวัฒนธรรม ข้ามชาติ
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการ 1 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
1.1.1 [  ] มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ทางธุรกิจ               มีจิตสานึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ              ซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น  1.1.2 [  ] มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบ ต่อตนเอง วิชาชีพ              สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม  1.1.3 [] มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม  1.1.4 [  ] มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นทีม และสามารถ               แก้ไขข้อขัดแย้งและลาดับความสาคัญ  1.1.5 [] มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่า             และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  1.1.6 [] สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 
 
(1)    ให้ความรู้โดยสอดแทรกในเนื้อหาของบทเรียนต่างๆ  (2)    กำหนดให้นักศึกษาทำงานมอบหมายด้วยตนเองในทุกบทเรียน โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ (3)    ให้นักศึกษานำความรู้ที่ค้นคว้ามาแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนในกลุ่มในช่วงการอภิปรายระดมสมอง (4)    ให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็นและช่วยกันระดมสมองเพื่อหาคำตอบที่เหมาะสมที่สุด
 
(1)    การเข้าชั้นเรียนอย่างสม่ำเสมอและตรงต่อเวลา  (2)    การส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด (3)    การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน (4)    การเข้าร่วมกิจกรรมซึ่งมหาวิทยาลัยฯ คณะฯ สโมสรนักศึกษาฯ สาขาฯ หลักสูตรฯ และชมรมได้จัดขึ้น
 
2.1.1 [  ] มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหา                     ของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์ อื่น ๆ              ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ                  ได้อย่างต่อเนื่อง  2.1.2 [] มีความรู้และความเข้าใจในสาระสาคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ               ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ ศึกษา               รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา               และการดำรงชีวิตประจาวัน  2.1.3 [  ] มีความรู้และความเข้าใจในสาระสาคัญเกี่ยวกับกระบวนการ บริหารธุรกิจในด้านการวางแผน              การจัดโครงสร้างองค์กร การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดาเนินงาน               รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์  2.1.4 [  ] มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจ               ในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน  2.1.5 [  ] สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบ องค์ประกอบต่างๆ              ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ได้ตรงตามข้อกำหนด  2.1.6 [  ] สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์รวมทั้งการนำไป              ประยุกต์ 2.1.7 [  ] รู้ เข้าใจ และสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง  2.1.8 [  ] มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบ              ของเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้อง  2.1.9 [  ] มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในงานได้จริง 
 
(1)    ศึกษาความรู้จากเนื้อหาในบทเรียนต่างๆ แล้วทำกิจกรรมประกอบเนื้อหาตามที่กำหนดในบทเรียน  (2)    ร่วมกลุ่มอภิปรายคำตอบและระดมสมองเพื่อหาคำตอบที่เหมาะสมที่สุด (3)    การทำงานมอบหมายนอกชั้นเรียน (4)    นักศึกษานำเสนองานในชั้นเรียนเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม
 
(1)    ทดสอบกลางภาคและปลายภาค  (2)    การร่วมกิจกรรมกลุ่มในชั้นเรียน (3)    การนำเสนองานในชั้นเรียน (4)    การทำงานมอบหมายที่ผู้สอนกำหนดให้
 
3.1.1 [  ] สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง              เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการ              ตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง 3.1.2 [  ] สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้าน              มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิด              การได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ  3.1.3 [] คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้              จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษาและประสบการณ์ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจ              และสถานการณ์ทั่วไป 3.1.4 [  ] สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการ 3.1.5 [  ] สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
 
(1)    ให้นักศึกษาฝึกการนำเสนองานเกี่ยวกับงานวิชาการที่ผู้เรียนค้นคว้าด้วยตนเองนอกชั้นเรียนและ นำเสนอเป็นภาษาอังกฤษทั้งเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มย่อยโดยจัดบริบทในห้องเรียนให้เหมือน สภาพการณ์ ที่เป็นจริง (2)    ให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มย่อย เพื่อฝึกฝนทักษะการนำเสนองานทางวิชาการตามเรื่องที่กำหนด ในกรณีศึกษา จากนั้นอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสนอแนะให้แก่กัน
 
(1)    แบบฝึกปฏิบัติของนักศึกษา (2)    การทำกิจกรรมในชั้นเรียน (3)    การอภิปราย ซักถาม และแสดงความคิดเห็น (4)    การทดสอบกลางภาคและปลายภาค
 
            4.1.1 [  ] มีภาวะความเปน็ ผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ                           ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม                           และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้             4.1.2 [  ] มีความสามารถในการแสดงความริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และ                          แสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม                          สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม              4.1.3 [  ] มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และ ความรับผิดชอบ                           พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงานในการแก้ปัญหา                          สถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำและในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน             4.1.4 [  ] มีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.1.5 [] สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลาย              ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.6 [  ] มีความรับผิดชอบในการกระทาของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม  4.1.7 [  ] สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม               พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 
 
(1)    ให้ความรู้เกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีตามมารยาทสังคมของกลุ่มสังคมเฉพาะต่างๆ (2)    จัดกิจกรรมแบบกลุ่มย่อยในชั้นเรียนและกระตุ้นให้นักศึกษาเข้าร่วมกลุ่มอย่างสร้างสรรค์ (3)    ทำแบบฝึกหัดนอกชั้นเรียน โดยกำหนดให้นักศึกษาแสวงหาความรู้จากการค้นคว้าหรือสังเกตพฤติกรรม ของกลุ่มสังคมต่างๆ ที่มีวัฒนธรรมแตกต่างกัน
 
(1)    การร่วมกิจกรรมกลุ่มในชั้นเรียน (2)    งานมอบหมาย / แบบฝึกหัดเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน (3)    การทดสอบกลางภาคและปลายภาค
 
5.1.1 [  ] สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์               และตัดสินใจทางธุรกิจและชีวิตประจำวัน  5.1.2 [  ] สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อ เทคนิค วิธีการ              เครื่องมือสื่อสาร และเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงาน และการ              นำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ 5.1.3 [  ] สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จาเป็นต่อการทาธุรกิจได้อย่างมี              ประสิทธิภาพ 5.1.4 [  ] มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5.1.5 [  ] สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือ              การแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์  5.1.6 [  ] สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้สนับสนุน                    การดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
 
(1)    การฝึกปฏิบัติในชั้นเรียนตามสถานการณ์การสื่อสารที่กำหนด (2)    ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่างๆ จากเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
(1)    การฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน (2)    การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน (3)    ผลงานที่นักศึกษาจัดทำขึ้น (4)    การทดสอบกลางภาคและปลายภาค
 
6.1.1 [  ] สามารถปฏิบัติงานโดยนาองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม  6.1.2 [  ] สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทาง              ในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย               ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง  6.1.3 [] สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน สังคมข้ามวัฒนธรรม ได้อย่างเหมาะสม              และมีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต  6.1.4 [  ] สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการ               ได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล  6.1.5 [] สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย 
 
1. สอดแทรกการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน 2. จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติงานจริง  3. สนับสนุนให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน 
 
1. การทดสอบย่อย กลางภาค และปลายภาค 2. ผลงานของนักศึกษาจากงานที่ได้รับมอบหมาย 3. พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาของนักศึกษาเพื่อสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ 
 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ทดสอบความรู้ บทที่ 1-3 สอบกลางภาค 9 30%
2 ทดสอบความรู้ บทที่ 4-7 สอบปลายภาค 17 30%
3 จัดการงานมอบหมายและฝึกปฏิบัติได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้ การฝึกปฏิบัติ / กิจกรรม แบบฝึกปฏิบัติในบทเรียน งานมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
4 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนในรายวิชา เข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
Boonnuch, W. (2012). Cross-cultural communication: An introduction.Bangkok: Thammasart University.
     ให้นักศึกประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง โดยผ่านกิจกรรมดังนี้       1) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน        2) ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบ ความรู้ ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะห์ ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้       3) แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
 
     การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีกลยุทธ์ดังนี้       - อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง ดูผลการเรียนของนักศึกษา และทำรายงานสรุปพัฒนาการของนักศึกษา  ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา       - สังเกตจาการทำกิจกรรมในชั้นเรียน       - ประเมินจากผลการนำเสนอ       - ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
 
- ให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัย แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน         - กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน         - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน เพื่อร่วมกันหาแนวทางหรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา         - การวิจัยในชั้นเรียน
 
      ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการตรวจแบบฝึกหัดและงานกลุ่ม ผู้สอนตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่าพัฒนาก้าวหน้าหรือมีการพัฒนาที่ผิดปกติแก้โดยการขอพบนักศึกษา แจ้งผลการได้รับคะแนนเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขา/ คณะ