ปฏิบัติการร่างภาพเซรามิก

Ceramics Sketch Design

ฝึกปฏิบัติการร่างภาพสามมิติแบบรวดเร็ว การร่างภาพด้วยโครงร่าง การร่างภาพตามหลักการทัศนียวิทยา การเขียนภาพเสมือนจริงด้วยดินสอ ปากกา และระบายสี
เพื่อให้นักศึกษาสามารถร่างภาพสามมิติแบบรวดเร็ว การร่างภาพด้วยโครร่าง การร่างภาพตามหลักการทัศนียวิทยา การเขียนภาพเสมือนจริงด้วยดินสอ ปากกา และระบายสี เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านแนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก เป็นการเตรียมความพร้อมด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก ในการนำความรู้ ความเข้าใจหลักการและทักษะการออกแบบรูปทรงให้สัมพันธ์กับลวดลาย เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกที่ใช้กับอาหาร โครงงานเซรามิก และยังสามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชีพการรับจ้างผลิตผลิตภัณฑ์เซรามิก และนักออกแบบเซรามิก
ฝึกปฏิบัติการร่างภาพสามมิติแบบรวดเร็ว การร่างภาพด้วยโครงร่าง การร่างภาพตามหลักการทัศนียวิทยา การเขียนภาพเสมือนจริงด้วยดินสอ ปากกา และระบายสี
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
สอนสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวิยัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
  2.1.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวของ
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบโดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานโดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยาการพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
2.3.1   ทดสอบย่อย
2.3.2 การสอบกลางภาคเรียนและ ปลายภาคเรียน
2.3.3   ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.4  ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.3.5  ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
2.3.6  ประเมินจากแผนการดำเนินงานโครงงาน
2.3.7  ประเมินจากการฝึกงานหรือสหกิจศึกษา
3.1.1  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ใช้กรณีศึกษา การจัดทำโครงงาน การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่มร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานการปฏิบัติงานของนักศึกษาและการนำเสนอ
4.1.1   มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็นและการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืนค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3   สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาให้นักศึกษาได้วิเคราห์สถานการณ์จำลองและสถานณการณ์จริง แล้วนำเสนอในการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล การนำเสนอที่เหมาะสมกับ
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบายการนำเสนอ
6.1.1   มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
6.1.2   มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.1.3   มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
ใช้วิธีการสอนด้วยวธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษาและโครงงาน สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบิติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 3 1 2 3 1 2 3
1 BTECE113 ปฏิบัติการร่างภาพเซรามิก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.2,1.3,1.4,4.1,4.2,4.3,4.4 การสังเกต พฤติกรรมแสดงออก การมีส่วนร่วมในช้นเรียน ตลอดภาคเรียน 10%
2 2..1,2.2,2.3 สอบกลางภาคเรียน สอบปลายภาคเรียน 8 และ 17 20%
3 6.1,6.2,6.3 ผลงาน การนำเสนอ ตลอดภาคเรียน 70%
1. กลยุทธ์ (นามแฝง). (2543). Market Trend : วิเคราะห์สี ชี้ Trend ตลาด กับเนลลี่ โรดี  Giving Ideas.  2(5)  62
2. กองส่งเสริมหัตถกรรมไทย กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2538). แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตกรรมไทย ในประเทศสหรัฐอเมริกา. กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
3. กองส่งเสริมหัตถกรรมไทย กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2539). ผลิตภัณฑ์หัตกรรมในตลาดสหรัฐอเมริกา. กรุงเทพฯ: ประชาชน.
4. กิจฐิภัทร  เทพาคำ. (2543). Giving Fortune : คุยกันเรื่องบ้าน ดวง และฮวงจุ้ย  Giving Ideas.  2(5)  42-43
5. กฤษณา  คำไทย. (2543). Intro Gift Mart : ตลาดของขวัญของชำร่วยญี่ปุ่น  Giving Ideas.  2(5)  32-35
6. กฤษณา  คำไทย. (2543). Intro Gift Mart : ตลาดของขวัญของชำร่วยดูไบ  Giving Ideas.  2(5)  36-39
7. จิรวรรณ  สุขพัฒน์. (2540). Hotline Ceramic : คุยกับราชาของที่ระลึกขนาดเล็ก คิด โรจนเพ็ญกุล  เซรามิกส์. 3(7). 62-65
8. ชุดา  สีโนนม่วง..(2539). Ceramic Design : บทพิสูจน์ผลงานการออกแบบของนักศึกษาไทย..เซรามิกส์. 2(4). 46-49
9. ชุดา  สีโนนม่วง..(2540). Ceramic Design : งานสร้างสรรค์ของนักศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง..เซรามิกส์. 2(6). 48-51
10. ชุดา  สีโนนม่วง..(2540). Ceramic Design : งานการออกแบบสร้างสรรค์ของนิสิต มศว ประสานมิตร..เซรามิกส์. 3(7). 96-99
11. ชุดา  สีโนนม่วง..(2540). Ceramic Design : ศิลปนิพนธ์ ม.ศิลปากร..เซรามิกส์. 3(8). 96-99
12. ชุดา  สีโนนม่วง..(2541). Ceramic Design : 5 ผลงานนักศึกษาไทย สู่ศิลปะเซรามิก..เซรามิกส์. 3(9). 96-99
13. ดนต์  รัตนทัศนีย์. (2526). ขบวนการออกแบบทางศิลปอุตสาหกรรม. (เอกสารอัดสำเนา) กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
14. ดาวรุ่ง  พรสาธิต. (2538). เรื่องจากปก : ชามตราไก่.. เซรามิกส์. 1(2). 9
15. ธีระชัย  สุขสด, ผศ. (2544). การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ:    โอเดียนสโตร์.
16. นพวรรณ  หมั้นทรัพย์. (2539). การออกแบบเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่: โครงการตำราวิทยาเขตภาคพายัพ.
17. นวลน้อย  บุญวงษ์. (2539). หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
18. ประดิษฐ์  ศรีวิชัยนันท์. (2539).  Special : เซลาดอน  . เซรามิกส์. 2(5). 21-43
19. ประเสริฐ  ศิลรัตนา. (2531). ของที่ระลึก. กรุงเทพฯ:    โอเดียนสโตร์.
20. พรรณี  อุปถัมภ์. The Exotic : เซรามิกอิตาลี  เซรามิกส์. 5(11). 96-99
21. วนิดา  ทองรวย. (2540). Special : เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร. เซรามิกส์. 2(6). 24-43
22. วิรุณ  ตั้งเจริญ. (2537). ออกแบบ2มิติ. (พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
23. วิรุณ  ตั้งเจริญ. (2539). การออกแบบ. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
24. เวนิช สุวรรณโมลี. (2540)  Decor Ceramic :  ธรรมชาติ แนวทางในการออกแบบเซรามิก(ที่ใช้กันมานานแล้ว). เซรามิกส์. 2(6). 58-61
25. เวนิช สุวรรณโมลี. (2543). Ceramic Design : การออกแบบและแนวคิดสำหรับอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผา  เซรามิกส์. 5(11). 50-54
26. สมาคมเครื่องปั้นดินเผาลำปาง. (2537). Lampang Ceramic 1994-1995.  กรุงเทพฯ: เยียร์บุ๊คพับลิชเชอร์.
27. สมาคมเครื่องปั้นดินเผาลำปาง. (2538). Lampang Ceramic 1995-1996.  ลำปาง: จิตวัฒนาการพิมพ์.
28. สมาคมเครื่องปั้นดินเผาลำปาง. (2540). Lampang Ceramic 1997-1998.  ลำปาง: จิตวัฒนาการพิมพ์.
29. สมาคมเครื่องปั้นดินเผาลำปาง. (2543). Lampang Ceramic 2000.  เชียงใหม่: ทรีโอ แอดเวอร์ไทซิ่ง แอนด์ มีเดีย.
30. สาคร  คันธโชติ. (2528). การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
31. อนันต์ภักดิ์  โชติมงคล. (บรรณาธิการบริหาร). (2538). สเปเชี่ยล : ดิน : เครื่องปั้นดินเผา. เซรามิกส์. 1(1). 22-41
32. อนันต์ภักดิ์  โชติมงคล. (บรรณาธิการบริหาร). (2538). สเปเชี่ยล : เครื่องลายคราม..เซรามิกส์. 1(3). 22-45
33. อนันต์ภักดิ์  โชติมงคล. (บรรณาธิการบริหาร). (2540). Special : ตุ๊กตาเซรามิก..เซรามิกส์. 3(7). 28-51
34. อุตสาหกรรม, กระทรวง. (2529). มอก.564-2528 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ภาชนะเซรามิกใช้กับอาหาร.: ปอร์ซเลน. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
35. อุตสาหกรรม, กระทรวง. (2529). มอก.601-2529 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ภาชนะเซรามิกใช้กับอาหาร.: เออร์เทนแวร์. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
36. อุตสาหกรรม, กระทรวง. (2539). มอก.32-2524 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ภาชนะเซรามิกใช้กับอาหาร.: ปริมาณและวิธีวิเคราะห์ตะกั่วและคัดเมียม. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
37.CERAM Research Limited (2003) UKAS Testing. Stoke-on-Trent England.
38. Collins Education. (1989). Collins CDT: Technology. Musselburgh, London: Scotprint.
39. French, N. (1998). The Potter’s Directory of Shape and Form. Singapore: Page One.
ไม่มี
www.ceram.co.uk
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์