การวิเคราะห์โครงสร้าง

Structural Analysis

1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์โครงสร้างแบบอินดิเทอร์มิเนทโดย วิธีมุมหมุนและระยะโก่ง สมการสามโมเมนต์ การกระจายโมเมนต์ พลังงานความเครียด เส้นอิทธิพลของโครงสร้างอินดิเทอร์มิเนท การวิเคราะห์แบบพลาสติกเบื้องต้น การวิเคราะห์โดยวิธีประมาณ การวิเคราะห์โดยวิธีเมตริกเบื้องต้น
2. วิเคราะห์โครงสร้างแบบอินดิเทอร์มิเนทโดย วิธีมุมหมุนและระยะโก่ง สมการสามโมเมนต์ การกระจายโมเมนต์ พลังงานความเครียด เส้นอิทธิพลของโครงสร้างอินดิเทอร์มิเนท การวิเคราะห์แบบพลาสติกเบื้องต้น การวิเคราะห์โดยวิธีประมาณ การวิเคราะห์โดยวิธีเมตริกเบื้องต้น
3. เลือกใช้วิธีการวิเคราะห์โครงสร้างแบบอินดิเทอร์มิเนทให้เหมาะสมกับลักษณะโครงสร้างแบบต่าง ๆ
4. เห็นคุณค่าของการวิเคราะห์โครงสร้างที่มีต่อวิชาชีพวิศวกรรม
เพื่อให้สอดคล้องกับงานวิศวกรรมในปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์โครงสร้างแบบอินดิเทอร์มิเนทโดย วิธีมุมหมุนและระยะโก่ง สมการสามโมเมนต์ การกระจายโมเมนต์ พลังงานความเครียด เส้นอิทธิพลของโครงสร้างอินดิเทอร์มิเนท การวิเคราะห์แบบพลาสติกเบื้องต้น การวิเคราะห์โดยวิธีประมาณ การวิเคราะห์โดยวิธีเมตริกเบื้องต้น
3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
หรือ 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา
มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
บรรยายและยกตัวอย่าง
ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
ประเมินจากการส่งงานตามกำหนดและความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ใช้เอกสารประกอบการสอน และยกตัวอย่าง
ประเมินจากการทดสอบย่อย ประเมินจากการสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
มอบหมายงานและให้นำเสนอ
ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบ ในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม
สามารถปรับตัวและทำงา นร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
บรรยายและยกตัวอย่าง
ผู้ร่วมงานในองค์กร และกับบุคคลทั่วไปส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
 
สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
บรรยายและยกตัวอย่าง
ประเมินจากการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้องและให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มา ของข้อมูล
มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
ฝึกทำแบบฝึกหัด
ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิศวกรรมโยธากับหน่วยงานภายในและภายนอก
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะทางความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGCV106 การวิเคราะห์โครงสร้าง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
Kassimali, A., 2010, Structural Analysis, 4th ed., Cengage, USA Hibbeler, R.C., 2012, Structural Analysis, 8th ed., Pearson Prentice Hall, New Jersey McKenzie, W.M.C., 2006, Examples in Structural Analysis, Taylor & Francis, UK. Kassimali, A., 2012, Matrix Analysis of Structures, 2nd ed., Cengage, USA
Assakkaf, I.A., Introduction to Beam (cont'd) [online], Available from: http://www.assakkaf.com/Courses/ENCE355/Lectures/Part2/Chapter8b.pdf [2018, May 14]
ไม่มี