สุนทรียศาสตร์

Aesthetics

นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในความหมาย ความสำคัญ และคุณค่าของสุนทรียะ ประเภทต่างๆ ของงานศิลปะ ทางด้านศิลปกรรม สถาปัตยกรรม การออกแบบ ดนตรี วรรณกรรม นาฏลักษณ์ รวมทั้งศิลปะพื้นบ้าน แนวคิดของการแสดงออกของความรู้สึกทางสุนทรียะ การสร้างสรรค์และประเมินค่าความงาม ของสุนทรียศาสตร์ตะวันออก และตะวันตก
เพื่อพัฒนากระบวนการให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความงาม และสุนทรียะ ประเภทของงานศิลปะ ในแขนงต่างๆ ทั้งที่เป็นสากล และที่เป็นศิลปะพื้นบ้านของท้องถิ่น สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ผลงานทางด้านศิลปะด้วยมุมมองทางสุนทรียะ
ศึกษาเกี่ยวกับ ความหมาย ความสำคัญและคุณค่าของสุนทรียศาสตร์ แนวคิดเกี่ยวกับความรู้สึกและการแสดงออก ปัญหาเกี่ยวกับความมีอยู่ของความงาม การสร้างสรรค์และการประเมินความงาม รวมทั้งสุนทรียศาสตร์ตะวันออกและตะวันตก
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ อย่างน้อย 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
๑) [O] มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม ๒) [O] มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ ๓) [O] มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม ๔) [·] เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  
๑) ให้วิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรม โดยใช้ทักษะทางด้านสุนทรียศาสตร์ ๒) อภิปรายกลุ่ม ๓) ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ ๔) กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลา และเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ ๕) จัดให้มีโครงการเสวนาทางด้านสุนทรียศาสตร์ ร่วมสมัย
๑) พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรง    เวลา ๒) มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม ๓) ไม่มีการทุจริตในการสอบ ๔) ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
๑) [·] มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา ๒) [O]  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการของสาขาวิชาที่ศึกษา ๓) [O]  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
๑) บรรยายร่วมกับอภิปราย การทำงานกลุ่ม การวิเคราะห์งาน และมอบหมายงานที่เกี่ยวข้อง ๒) ให้ทำแบบฝึกหัด แบบทดสอบ ๓) นักศึกษาไปค้นคว้าเพิ่มเติม จัดทำเป็นรายงาน และนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
๑) สอบย่อยระหว่างเรียนด้วยแบบทดสอบ ๒) ประเมินจากประสิทธิผลของการศึกษาค้นคว้า การรายงานการศึกษาค้นคว้า และงานที่มอบหมาย ๓) ทดสอบกลางภาค และปลายภาค ๔) ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
๑) [·] มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ ๒) [O]  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
๑) บรรยายและอภิปรายกรณีศึกษาร่วมกันในชั้นเรียน ๒) การมอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงาน และนำเสนอผลการศึกษา
๑) สอบย่อย โดยข้อสอบเน้นการใช้ทักษะทางด้านสุนทรียศาสตร์                         ๒) สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นสนุน
๑) [O]  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี                         ๒) [O]  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม                         ๓) [O]  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม                         ๔) [O]  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
๑) มอบหมายงานกลุ่มในการศึกษาค้นคว้า ๒) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
๑) ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานกลุ่ม ๒) รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ๓) พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
๑) [O]  สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ๒) [O]  สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อใช้ในชีวิตประจำวันอย่างเหมาะสม ๓) [·] สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างถูกต้องตามกาละเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
๑) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website สื่อการสอน e-learning และทำรายงานโดยเน้นการใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ๒) นำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
๑) การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี  ๒) การมีส่วนร่วมในการอภิปราย และวิธีการอภิปราย    
สามารถทำงานตามแผนงานได้
ให้ฝึกทำผลงานตามแผนงาน
ตรวจสอบผลการทำงานว่าถูกต้องตามคำสั่ง

 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BFACC403 สุนทรียศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านความรู้ สอบทฤษฏีกลางภาค สอบทฤษฏีปลายภาค 8 17 30% 30%
2 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การรายงาน และอภิปรายผล การนำเสนอและผลงานโครงงาน (Project-Based Learning) ตลอดภาคการศึกษา 15% 15%
3 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
กรมศิลปากร. (2549). มรดกของแผ่นดินเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977). กระทรวงวัฒนธรรม. (2553). ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม, องค์พระปฐมเจดีย์. http://www.mculture.in.th/moc_new/album/32009/. ค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2556. _______. (2552). นามานุกรมขนบประเพณีไทย หมวดประเพณีราษฎร์ เล่ม 3 (คติความ เชื่อ). กรุงเทพฯ : แอดวานซ์ วิชั่น เซอร์วิส. ธรรมจักร. (2556). พระมหาเจดีย์ ประจ ารัชกาลที่ 4. http://www.dhammajak.net/board/ viewtopic.php?t=13490. ค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2556. ธรรมะไทย. (2556). วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ราชวรวิหาร. http://www.dhammathai.org/ watthai/ bangkok/watben.php. ค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2556. _______. (2556). วัดยานนาวา. http://www.dhammathai.org/watthai/bangkok/ watyanawa.php. ค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2556. น. ณ ปากน้ า. (2525). กรุงเทพฯ สองศตวรรษ. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์เมืองโบราณ. ปัญญา วิจินธนสาร และเกวลี แพ่งต่าย. (2551). ภาพจิตรกรรมฝีพระหัตถ์รัชกาลที่ ๙. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับ ลิชชิ่ง.พระพรหมคุณากร (ป.ปยุต โต). (2552). กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์ เพ็ทแอนด์โฮม. พิริยะ ไกรฤกษ์. (2533). ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดีในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้น ติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ส านักบรรณาสารสนเทศ. (2556). เรือพระราชพิธี. http://library. stou.ac.th/ODI/rue-pra-rad-cha-pi-thi/P4-1.html. ค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2556. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. (2548). ศิลปะในประเทศไทย จากศิลปะโบราณในสยามถึงศิลปะสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือลาดพร้าว. วิโชค มุกดามณี. (2555). หนังสือพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัย. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับ ลิชชิ่ง. รัตนโกสินทร์. (2556). พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท.http://ratanagosin.sadoodta.com/บทความ/พระ ที่นั่งจักรีมหาปราสาท. ค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2556. ศูนย์ข้อมูลเกาะรัตนโกสินทร์. (2556). พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท. http://www.lib.su.ac.th/ rattanagosin_web/?q=node/137. ค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2556. สันติ เล็กสุขุม. (2548). ข้อมูลกับมุมมอง : ศิลปะรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ. อโศก ไทยจันทรารักษ์. (2554, กุมภาพันธ์). ภาพถ่ายจิตรกรรมฝาผนัง ผาแต้ม จังหวัดอุบลราชธานี _______. (2556, ตุลาคม). ภาพถ่ายปราสาทเขาพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ Ministry of Culture. (2008). Thai Art and Culture. Bangkok : Amarin Printing and Publishing.
 
ไม่มี
บนเว็บเว็บไซต์ต่างๆที่มีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับงานที่ได้รับมอบหมาย
ให้นักศึกประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง โดยผ่านกิจกรรมดังนี้ ๑) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ๒) ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบ ความรู้ ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้ ๓) แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง ดูผลการเรียนของนักศึกษา และทำรายงานสรุปพัฒนาการของนักศึกษาปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา
- ให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัย แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน - กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน เพื่อร่วมกันหาแนวทางหรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา - การวิจัยในชั้นเรียน
- ให้อาจารย์แสดงตัวอย่างการประเมินผลในรายวิชาเพื่อการทวนสอบ - ให้กรรมการทวนสอบ สุ่มตรวจสอบการให้คะแนนในรายวิชาหรือรายงานของผู้เรียน - เปรียบเทียบการให้คะแนนข้อสอบแต่ละข้อในรายวิชา ตามเกณฑ์ที่กำหนด - จัดทำข้อสอบมาตรฐานสำหรับรายวิชา (หรือกับสถาบันในเครือข่าย)
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะ