การเตรียมโครงงานวิศวกรรมโยธา

Civil Engineering Pre-Project

เพื่อปฏิบัติการเกี่ยวกับการเขียนรายงานและนำเสนอโครงงาน   วิธีการหาหัวข้อและตั้งชื่อเรื่อง ความเป็นมาของปัญหาและแนวคิดการแก้ไข การกำหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขต การวางแผนดำเนินงาน การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนและนำเสนอโครงงาน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาวิจย และสามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชีพได้
ปฏิบัติการเกี่ยวกับการเขียนรายงานและนำเสนอโครงงาน   วิธีการหาหัวข้อและตั้งชื่อเรื่อง ความเป็นมาของปัญหาและแนวคิดการแก้ไข    การกำหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขต การวางแผนดำเนินงาน การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนและนำเสนอโครงงาน
6 ชัวโมงต่อสัปดาห์
มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นกลุ่ม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิ์และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ตรวจติดตามความคืบหน้าผลการดำเนินงานของนักศึกษาตามตารางนัดหมาย หลังจากที่ได้รับคำปรึกษาแล้วในแต่ละครั้ง รับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา ให้คำปรึกษา หรือข้อชี้แนะเพื่อเป็นแนวทางศึกษา ส่งเสริมให้มีความเป็นผู้นำกลุ่มและผู้ตามที่ดี  มีความสามัคคีในการทำงาน สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม  ความรับผิดชอบและจรรยาบรรณวิชาชีพวิศวกร 
1.3.1   ให้คะแนนจากการดำเนินงานและการมีส่วนร่วม และความตรงต่อเวลา  1.3.2   สังเกตการทำงานในกลุ่ม  การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ  1.3.3    สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ
มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และสามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.2.1  มอบหมายให้นักศึกษาศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูล และนำเสนอหัวข้อโครงงาน  2.2.2  จัดให้มีการสัมมนาหรือนำเสนอกลุ่มย่อย เพื่อระดมสมองแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์  2.2.3  จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้วิธีการแก้ปัญหา (Problem Based Instruction)  2.2.4   ฝึกการแก้ปัญหาจากการสร้างสถานการณ์จำลอง  2.2.5   จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการทดลองหรือสำรวจข้อมูล
2.3.1  ประเมินผลจากผลการปฏิบัติงานที่ดำเนินการตามกรอบเวลาที่ได้กำหนดไว้  2.3.2   ประเมินจากความรู้ความสามารถที่ได้รับ โดยพิจารณาจากผลงานที่นำเสนอ เช่น ทฤษฎีที่ใช้ ขอบเขตงาน ความน่าสนใจและนำไปใช้งานได้จริงของโครงงาน  2.3.3   ประเมินจากผลการปฎิบัติงาน  2.3.4   ประเมินจากความถูกต้องของโครงงาน  2.3.5   ประเมินจากผลการนำเสนองาน
มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดีมีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต  และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
3.2.1  ส่งเสริมการอ่านเพื่อให้มีแนวคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์  3.2.2  ให้มีการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา (Problem Based Instruction)  3.2.3   ให้นักศึกษาปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง              3.2.4   มอบหมายให้ค้นคว้างานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3.3.1 วัดผลจากหัวข้อของโครงงาน  3.3.2 วัดผลจากความถูกต้องของโครงงาน    3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา  3.3.4 วัดผลจากความถูกต้องของงานที่มอบหมาย
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ   สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม  4.1.2 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้  ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ  4.1.3 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1  ให้นักศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็นโดยการนำเสนอโครงงานหรือการสัมมนากลุ่มย่อย  4.2.2  ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม  4.2.3  ให้ความสำคัญด้านความปลอดภัยในการทำงาน
4.3.1   ประเมินจากการมีส่วนร่วมเสนอความคิดเห็นในการนำเสนอผลงานแต่ละครั้ง  4.3.2   สังเกตจากพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม  4.3.3   สังเกตจากการให้ความสำคัญด้านความปลอดภัยในการทำงาน
มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญญลักษณ์
ให้ศึกษางานที่มีการใช้เทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการวิเคราะห์และแปลความหมาย รวมทั้งการเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา มอบหมายการนำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม อธิบายวิธีการอ้างอิงเอกสารในรายงาน
5.3.1  ประเมินจากความถูกต้องของการวิเคราะห์ข้อมูล  5.3.2  ประเมินจากการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี  5.3.3  ประเมินจากการอ้างอิงเอกสารได้ถูกต้อง
มีทักษะในงานที่รับผิดชอบอย่างเชี่ยวชาญ มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
ให้ศึกษา และทดลองปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับโครงงานที่นำเสนอ กำหนดให้นักศึกษาส่งผลงานตามกรอบเวลาที่กำหนดไว้ มอบหมายงานให้ทำเป็นกลุ่ม ให้ทุกคนมีหน้าที่รับผิดชอบ
ประเมินจากผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี 2.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้าน 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม 2.5 สามารถใช้ความรู้ และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ 3.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 3.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ 3.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม 4.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัว และส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ 4.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ 4.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม 5.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี 5.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิตประยุกต์ ต่อ การแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 5.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ 5.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ 5.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1 ENGCV802 การเตรียมโครงงานวิศวกรรมโยธา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 2.1-2.4 3.3 3.5 5.2 5.4 การอภิปรายกลุ่ม และโครงร่างหัวข้อโครงงาน รายงานประกอบการนำเสนอ 7 11 14 16 60%
2 2.5 4.1 5.2 การนำเสนอโครงร่างหัวข้อโครงงาน 14 -16 30%
3 1.1 4.1 6.1 ผลการดำเนินงาน การมีส่วนร่วมเสนอความคิดเห็น การส่งงานตรงเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10%
รายละเอียดการเขียนปริญญานิพนธ์  สาขาวิศวกรรมโยธา  คณะวิศวกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่เชียงราย
แบบฟอร์มต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาเตรียมโครงงานวิศวกรรมโยธา
 
คู่มือโครงงานวิศวกรรมโยธา  ตัวอย่าง ปริญญานิพนธ์สาขาวิศวกรรมโยธา  เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การประเมินผลการดำเนินการแบบออนไลน์ แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านสื่อต่างๆ ของอาจารย์ผู้สอน
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมสอน 

2.2   ผลการศึกษาของนักศึกษา 

2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร  4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ