การปฏิบัติวิชาชีพ

Professional Practice

ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบสถาปัตยกรรม กระบวนการและมาตรฐานการปฏิบัติการวิชาชีพสถาปัตยกรรม ได้แก่ การติดต่อกับผู้ว่าจ้าง การเขียนโครงการ การประสานงานกับสถาปนิกและวิศวกร การทำสัญญา รายการ การออกแบบร่างและแบบก่อสร้าง การบริหารและจัดการภายในสำนักงาน มารยาทในการปฏิบัติวิชาชีพ ศึกษาดูงานนอกสถานที่
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิเคราะห์กระบวนการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรม การติดต่อผู้ว่าจ้าง การจัดทำแบบเอกสารประกอบการปฏิบัติวิชาชีพ  มารยาทในการประกอบวิชาชีพ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรม 
          ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบสถาปัตยกรรม กระบวนการและมาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรม ได้แก่ การติดต่อกับผู้ว่าจ้าง การเขียนโครงการ การประสานงานกับสถาปนิกและวิศวกร การทำสัญญารายการ การออกแบบร่างและแบบก่อสร้าง การบริหารและการจัดการภายในสำนักงาน มารยาทในการปฏิบัติวิชาชีพ ศึกษาดูงานนอกสถานที่
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษา
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ
คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องการพัฒนา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม

เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
อบรมนักศึกษาด้านคุณธรรมจริยธรรม จำลองสถานการณ์หรือนำกรณีศึกษาด้านคุณธรรม จริยธรรมมาถ่ายทอด 

มอบหมายงานกลุ่มเพื่อพัฒนาคุณธรรม  จริยธรรม
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในชั้นเรียน การอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน การดูแลห้องเรียนและสภาพแวดล้อม

พฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักศึกษา
2.1 ความรู้ที่ต้องการพัฒนา

มีความรู้และความเข้าใจด้านทฤษฎีในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย  อภิปราย จำลองสถานการณ์  สอบถามเพื่อทบทวนความรู้ มอบหมายงานกลุ่ม สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบวัดความรู้ ความเข้าใจในหลักการและทฤษฏี ผลงานที่มอบหมายมีความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยี

การอภิปรายในชั้นเรียน และการนำเสนอผลงานสามารถบูรณาการความรู้ที่ได้ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
บรรยายโดยเน้นการสร้างความเข้าใจ และกระตุ้นให้นักศึกษาร่วมคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล อภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและพัฒนาปัญญา

มอบหมายงานที่ต้องค้นคว้าและวิเคราะห์ร่วมกัน
สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่วัดความเข้าใจ  การคิดวิเคราะห์เชิงเหตุผล ผลงานที่นำเสนอมีองค์ความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา

มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม

สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
สอน online โดยการตั้งกลุ่มผู้เรียนในห้องของ Facebook แล้วผู้สอนใส่ไฟล์เนื้อหาการเรียนการสอนในแต่ละสัปดาห์ ให้นักศึกษาเรียนรู้ เมื่อมีคำถาม ตอบ สนทนาแลกเปลี่ยนข้อความในกลุ่ม พร้อมมอบหมายงาน ส่งไฟล์งานและแสดงความคิดเห็น แบ่งกลุ่มร่วมอภิปราย  เพื่อพัฒนาบทบาทผู้นำและผู้ตาม

มอบหมายงานกลุ่ม เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์และความรับผิดชอบของนักศึกษา
 
สังเกตพฤติกรรมการศึกษาและการอยู่ร่วมกันของนักศึกษาในชั้นเรียน ประเมินภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามจากการทำงานกลุ่มที่มอบหมาย ประเมินการทำงานเป็นทีมจากงานกลุ่มที่มอบหมาย
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม

สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ให้นศ.เลือกวิธีการนำเสนอผลงานด้วยวิธีการและเทคโนโลยีที่เหมาะสม

ฝึกทักษะการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่ถูกต้องให้นักศึกษาระหว่างการสอน
ประเมินทักษะการใช้เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสมจากผลงานและวิธีการนำเสนอ ประเมินทักษะการสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสมจากผลงานและวิธีการนำเสนองาน

ประเมินทักษะการสื่อสารภาษาจากการอภิปรายในชั้นเรียนผลงานและการนำเสนองาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 42014403 การปฏิบัติวิชาชีพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน/การทำงานกลุ่ม ทุกสัปดาห์ 10%
2 ด้านความรู้ความเข้าใจ การสอบกลางภาค/ปลายภาค และการทำรายงาน 9/16-18 45%
3 ทักษะทางปัญญา การสอบกลางภาค/ปลายภาค และการทำรายงาน 9/16-18 30%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ งานกลุ่ม /การนำเสนองานปฏิบัติ 16-17 10%
5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองานปฏิบัติ 16-17 5%
  -เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรม  รศ.วีระ บูรณากาญจน์
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พฤษภาคม 2529
  -การปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรม  รศ.อวยชัย วุฒิโฆสิต
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พฤษภาคม 2544
  -หลักปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรม รศ.มาลินี ศรีสุวรรณ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พฤษภาคม 2544
  - คู่มือสถาปนิก สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมป์2537
  - กฎหมายอาคาร เล่ม 1-2 อาษา  สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมป์
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น
http://www.asa.or.th/
http://www.winyou.net/
http://www.act.or.t
http://www.yotathai.com/yotanews/law-building-2558
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกต
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
ใช้ผลการประเมินการสอนในข้อ  2 มาปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
4.1 มีคณะกรรมการวิชาการประจำสาขาวิชา
4.2 มีคณะกรรมการพิจารณาข้อสอบและผลสอบ
4.3 แจ้งผลการประเมินผลการสอบ การรายงาน การนำเสนอและคะแนนให้นักศึกษาทราบ
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์
5.3  เชิญวิทยากร ผู้ประกอบวิชาชีพ สถาปนิก เข้าร่วมอภิปรายแลกเปลี่ยนทัศนคติในการประกอบวิชาชีพกับนักศึกษา