การทำแบบตัด

Cutting Pattern

1.1  รู้หลักการเกี่ยวกับการทำแบบตัดขั้นพื้นฐาน   1.2  รู้การวัดตัวเพื่อสร้างแบบตัด   1.3  เข้าใจการสร้างแบบตัด  กระโปรง  เสื้อ  กางเกง  และชุดโอกาสพิเศษ   1.4  เข้าใจการปรับแบบตัด  กระโปรง  เสื้อ  กางเกง  และชุดโอกาสพิเศษ   1.5  มีทักษะในการสร้างแบบตัด  กระโปรง  เสื้อ  กางเกง  และชุดโอกาสพิเศษ  
                   เพื่อปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอน และเนื้อหาให้เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบันสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนด เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะเกี่ยวกับความรู้การทำแบบตัดขั้นพื้นฐาน  เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะการทำแบบตัดกระโปรง  การทำแบบตัดเสื้อ  การทำแบบตัดกางเกง  การทำแบบตัดชุดโอกาสพิเศษ  ในรายวิชาอื่นๆ  ที่เกี่ยวข้อง  อย่างมีประสิทธิภาพ มีมาตรฐานสากล
ปฏิบัติเกี่ยวกับการทำแบบตัดขั้นพื้นฐาน  การทำแบบตัดกระโปรง การทำแบบตัดเสื้อ  การทำแบบตัดกางเกง การทำแบบตัดชุดโอกาสพิเศษ
Practice understanding with the basic of  the cutting pattern, pattern of skirts, pattern of shirts, pattern of pants, pattern of special occasion dresses.
  -    อาจารย์ผู้สอน ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน     -    อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง / สัปดาห์ 
1.1.1   ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
 
1.2.1   ให้ความสำคัญในระเบียบวินัยการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การส่งงานตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นตามระเบียบที่เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย

1.2.2   บรรยายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับเนื้อหาของการทำแบบตัดเสื้อผ้า  ในรายวิชามีความ  ซื่อสัตย์สุจริตและมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมและสิ่งแวดล้อม

1.2.3    มอบหมายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเป็นรายบุคคล
 
1.3.1    การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน  การส่งงานตามกำหนดระยะเวลา  ที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม (ด้วยระบบออนไลน์และการเรียนในชั้นเรียน) 1.3.2   ความซื่อสัตว์สุจริตวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ 1.3.3   สังเกตพฤติกรรมการเรียนการทำงานกลุ่มและรายบุคคล 
2.1.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
2.2.1  บรรยาย อภิปราย โดยผู้สอนใช้สื่อที่หลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ทางการสร้างแบบตัด  (ด้วยระบบออนไลน์และการเรียนในชั้นเรียน) 2.2.2  ให้นักศึกษาปฏิบัติการสร้างแบบตัดเสื้อผ้า  โดยนำหลักการทางทฤษฎีมาประยุกต์ใช้  2.2.3  มอบหมายงานศึกษาค้นคว้ารายบุคคลและรายกลุ่ม
 2.3.1  การสอบกลางภาคเรียน(ด้วยรูปแบบออนไลน์)  และปลายภาคเรียน  (การจัดการเรียนเต็มเวลา) 2.3.2  ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติและการนำเสนอผลงานรูปแบบออนไลน์และในชั้นเรียน 2.3.3  แฟ้มสะสมผลงานการทำแบบตัด
3.1.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ   3.1.2  สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3.2.1   ให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลตำรา เอกสารและสื่อสังคมกับการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21  (ด้วยรูปแบบออนไลน์และการจัดการเรียนเต็มเวลา)
3.2.2   มอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์การสร้างแบบตัดเสื้อผ้า และสรุปผล การนำเสนองาน โดยอภิปรายรายบุคคลร่วมแสดงความคิดเห็น
3.3.1 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน  การปฏิบัติงานการคิดวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
 4.1.2  มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1  จัดกิจกรรมกลุ่มในการนำความรู้การสร้างแบบตัดเสื้อผ้า การทำงานแต่ละขั้นตอนการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ที่ดี อย่างมีประสิทธิภาพ (ด้วยรูปแบบออนไลน์และการจัดการเรียนเต็มเวลา)
4.2.2  ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม
4.3.1 ประเมินจากการร่วมจัดกิจกรรมกลุ่ม และการรายงานผลของการจัดกิจกรรม 4.3.2 พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ 
5.1.1  สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ  
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้เทคนิคและประยุกต์การสร้างแบบตัดจากการหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ (ด้วยรูปแบบออนไลน์และการจัดการเรียนเต็มเวลา) 5.2.2  นักศึกษาสามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอรูปแบบวิธีการสื่อสารที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพ  
5.3.1 ประเมินจากผลการหาข้อมูลที่ถูกต้องจากวิธีการและสื่อสาร   5.3.2 ประเมินจากอธิบาย  การนำเสนอ และแก้ปัญหาด้านข้อมูลที่เหมาะสม
6.1.1 มีทักษะในการทำตา มแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ  
6.2.1  บรรยายและสาธิตการปฏิบัติการสร้างแบบตัด  ตามขั้นตอนจากแบบและใบงานปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง  (ด้วยรูปแบบออนไลน์และการจัดการเรียนเต็มเวลา)  
6.2.2  ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและมีความปราณีต
6.3.1  ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงานที่มอบหมาย 6.3.2  สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ134 การทำแบบตัด
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 3.1.1,3.1.2 ประเมินผลจากผลงานภาคปฏิบัติ (ออนไลน์) สัปดาห์ 1-8 20%
3 3.1.1,3.1.2 ประเมินผลจากผลงานภาคปฏิบัติ (การจัดการเรียนเต็มเวลาในชั้นเรียน) สัปดาห์ 10-16 30%
4 5.1.1, 6.1.1 การวิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 1.1.1, 4.2.1,4.2.2 การเข้าชั้นเรียน การทำงานกลุ่ม และผลการทำงาน ทักษะในการสร้างสัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดีระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. กระจ่างจิตต์ เขียวขำ.  ตำราตัดเสื้อสตรี ชุดโอกาสพิเศษ. กรุงเทพฯ : พรานนกการพิมพ์, 2544. 2. งานฝึกอบรมศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมดินแดง.   คู่มือการสอนวิชาตัดเย็บเสื้อผ้า . กรุงเทพฯ   : กองอุตสาหกรรมในครอบครัว  กรมส่งเสริม                            อุตสาหกรรม , ม.ป.ป. 3. จิตรพี ชวาลาวัณย์. ตัดเย็บเสื้อผ้าสตรี. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2549.  4. ชูศรี อรุณไวกิจ. วิทยาการตัดเสื้อสตรี - เสื้อชาย. กรุงเทพฯ: 9119 เทคนิค, ม.ป.ป. 5. ดวงดาว ท่ามตระกูล. หลักสูตรการตัดเย็บเสื้อผ้า. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง,  2548. 6. นาโอกิ  วาตานาเบะ.  เทคนิคการวาดภาพแฟชั่นร่วมสมัย. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์ ดวงกมลพับลิชซิ่ง,  2553. 7. นิตยา นันทตันติ. ตัดเย็บเสื้อผ้าเบื้องต้น. เชียงใหม่: โรงพิมพ์ดาราวรรณเชียงใหม่, 2542. 8. นุจิรา  รัศมีไพบูลย์. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเสื้อผ้าครอบครัว. กรุงเทพฯ :ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ็ม แอนด์ เอ็ม เลเซอร์พริ้นต์. 2553. 9. ปกรณ์ วุฒิยางกูร. คู่มือช่างเสื้อ กรุงเทพมหานคร: พับพิธการพิมพ์, ม.ป.ป. 10. พยุง วงศ์ศศิธร. ตำราตัดเสื้อสตรี เล่มพิเศษ 1. กรุงเทพฯ: บริษัทอัมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง (มหาชน), ม.ป.ป. 11. พยุง วงศ์ศศิธร. ตำราตัดเสื้อสตรี เล่มพิเศษ 3. กรุงเทพฯ: บริษัทอัมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง (มหาชน), ม.ป.ป. 12. พยุง วงศ์ศศิธร. ตำราตัดเสื้อสตรี. กรุงเทพฯ: บริษัทอัมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง (มหาชน),  2533. 13. พรรณงาม  สุวรรณเสวก. เทคนิคการสร้างแบบตัดเสื้อ. กรุงเทพ: โรงพิมพ์พรานนกการพิมพ์, 2542. 14. รสสุคนธ์ พราหมณ์เสน่ห์. ตำราตัดเสื้อสตรีฉบับก้าวหน้า. กรุงเทพฯ: วงศ์สว่างการพิมพ์, ม.ป.ป. 15. วินิทร สอนพรินทร์. การทำแบบตัดและเทคนิคการตัดเย็บเสื้อผ้า. กรุงเทพฯ: เกียรติกรการพิมพ์,  2005. 16. วินิทร สอนพรินทร์. การทำแบบตัดและเทคนิคการตัดเย็บเสื้อผ้า. กรุงเทพ: เกียรติกรการพิมพ์,  2016. 17. วารุณี วงษา. ศัพท์พื้นฐานการตัดเย็บเสื้อผ้า. กรุงเทพฯ: มิตรสยาม, 2534. 18. วาสนา สว่างคำ. ตำราตัดเสื้อสตรี. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์ จำกัด, 2541. 19. สถาบันฝึกอบรมด้านอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม.  การทำแบบตัดเสื้อผ้าอุตสาหกรรม.  กรุงเทพฯ: มูลนิธิพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย,                       ม.ป.ป.   20.  ศรัทธา  แข่งเพ็ญแข.  แบบตัดเสื้อชายสร้างง่ายสไตล์คุณ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2557. 21.  ศรีนวล  แก้วแพรก.  การตัดเย็บเสื้อผ้า. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง,2543. 22. อรทัย  ตั้งสิรินนฤนาท.  เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการทำแบบตัดอุตสาหกรรม 1. กรุงเทพฯ  :  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล                              ธัญบุรี, 2548. หนังสือภาษาต่างประเทศ 23. Bina Abling, Kathleen Maggio.  Integrating Draping, Drafting and Drawing :Bloomsbury Academic, 2008. 24. Bina Abling and Kathleen Maggio. Integrating Draping, Drafting, & Drawing. 2nded. New  York:  Fairchilol  Publication,  2009.   25. Bunka Fashion College.  Guide to Fashion Design.  Japan : Bunka Publishing Bureau,  1991. 26. Dennic Chunman Lo. Pattern Cutting (Portfolio Skills).  London : Laurence King, 2011. 27. Winifred Aldrich.  Metric Pattern Cutting for Women's Wear. 5th ed.  Oxford ; Malden ,MA : Blackwell Pub, 2008. 28. Helen  joseph Armstong.  Patternmarking  for  Fashion  Design. 5th ed. Boston: Prentice Hall,  2009.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน (ด้วยรูปแบบออนไลน์และการจัดการเรียนเต็มเวลา)
1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
 ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา 2.2 การอภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
         หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้      3.1 ทบทวนเนื้อหา และวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด      3.2 หาแนวทาง และวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน  (ด้วยรูปแบบออนไลน์และการจัดการเรียนเต็มเวลา)
       ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียน รู้ในวิชา โดยมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบผลการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย 4.2 การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน
     จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 การประชุมกรรมการประจาหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา