เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์

Packaging Technology

              เพื่อศึกษาความเป็นมาและบทบาทหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์ ประเภทของบรรจุภัณฑ์
วัสดุบรรจุและคุณสมบัติ ตลอดจนหลักการและกระบวนการออกแบบบรรจุภัณฑ์
      2.1 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ ความเป็นมาและบทบาทหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์
      2.2 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ ประเภท วัสดุและคุณสมบัติ ของบรรจุภัณฑ์
      2.3 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ หลักการและกระบวนการออกแบบบรรจุภัณฑ์
                ศึกษาความเป็นมาและบทบาทหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์ ประเภทของบรรจุภัณฑ์ วัสดุทางการบรรจุ
     หลักการและกระบวนการออกแบบบรรจุภัณฑ์ เทคโนโลยีที่ใช้ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์              
     และเทคโนโลยีการผลิตบรรจุภัณฑ์
อาจารย์ประจำรายวิชาจัดช่วงเวลาให้คำปรึกษาเกี่ยวรายวิชาที่สอนสัปดาห์ละ 3-6 ชั่วโมง  อาจารย์ประจำรายวิชาจัดให้คำปรึกษานอกเวลาผ่านการสื่อสารเครือข่ายทางอินเตอร์เนท Line Group  และ Email  (ajsirinapa@gmail.com)
-มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
-มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ  
-มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และ
          สิ่งแวดล้อม
สอนโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ปลูกฝังจรรยาบรรณของนักออกแบบ ปลูกฝังงานพื้นฐานเพื่อฝึกความมีวินัย อดทน ตรงต่อเวลา
ให้นักศึกษาทำงานรายเดี่ยว หรือฝึกความรับผิดชอบ และการทำงานร่วมกับผู้อื่น   
1.3 วิธีการประเมินผล
1.3.1   ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าเรียนและการแต่งกาย 1.3.2   ประเมินจากการพฤติกรรมการปฏิบัติการและการสอบ 1.3.3   ประเมินจากความรับผิดชอบในการส่งงาน หน้าที่ที่ได้รับ การเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
- มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา        
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา        
- สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 
- ใช้วิธีการฝึกปฏิบัติตามเนื้อหาของด้านเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการนำไปใช้ - เน้นให้นำความรู้ทางด้านวัสดุศาสตร์ดั้งเดิม และทันสมัย เทคโนโลยีมาเชื่อมโยง - จัดกิจกรรมการเรียนในการบูรณาการความรู้ในวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี
- มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ       
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
- ฝึกการใช้ความคิดและการวิเคราะห์โดยประยุกต์จากองค์ความรู้ในรายวิชา
ตรวจสอบกระบวนการคิดของนักศึกษาจากผลการวิเคราะห์ความรู้ในรายวิชา
- มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี      
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ     
- สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม     
- สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- จัดกิจกรรมรายบุคคล และกิจกรรมที่เน้นการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม - สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจวัฒนธรรมองค์กร - สอดแทรกกรณีศึกษา ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
- สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษารายบุคคล หรือขณะร่วมกิจกรรมกลุ่ม - ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ งานที่ได้รับมอบหมาย - การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า หรือการประสานงาน หรือความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม      
- สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม      
- สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- จัดการเรียนการสอนที่ต้องอาศัยทักษะคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องมือสื่อสาร - จัดการเรียนการสอนที่สืบค้นข้อมูล และเทคโนโลยีในการนำเสนองาน - จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน การนำเสนอผลงาน
- ตรวจสอบกระบวนการคิดจากการปฏิบัติการ - ตรวจสอบข้อมูลที่สืบค้น และการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกต้อง - ทักษะการฟัง และการพูด จากการทำงานรายเดี่ยว หรือกลุ่มในการปฏิบัติการ ทักษะการเขียน การอ่านจากการเขียนรายงานภาคเอกสาร และผลการปฏิบัติ
- มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ      
- มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง      
- มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน 
สอดแทรกทักษะความรู้เบื้องต้นตามเนื้อหารายวิชาเพื่อให้นักศึกษาหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง      
ตรวจสอบกระบวนการคิดจากเนื้อหารายวิชา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BTEPP102 เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านความรู้ - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 4,9,12,17 50%
2 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน/ การส่งงานตามที่มอบหมาย 1-17 5%
3 ด้านทักษะทางปัญญา กิจกรรมกลุ่ม และการแก้ไขปัญญาจากกรณีศึกษา 1-17 5%
4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียนและนอกห้องเรียน การเข้าศึกษาดูงาน/กิจกรรมกลุ่ม (การรายงานผลจากใบงาน การแบ่งงานหน้าที่ความรับผิดชอบภายในกลุ่ม) 1-17 10%
5 ด้านทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนอ/กิจกรรมกลุ่ม/การนำเสนอและตัวอย่างการนำเสนอ) 1-17 15%
6 ด้านทักษะพิสัย การปฏิบัติ 1-17 15%
การออกแบบบรรจุภัณฑ์, เสกสรรปั้นแต่งบรรจุภัณฑ์, รอบรู้เรื่องบรรจุภัณฑ์1, รอบรู้เรื่องบรรจุภัณฑ์2
เทคโนโลยีภาชนะบรรจุ, ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
    ไม่มี
เทคโนโลยี และ การออกแบบบรรจุภัณฑ์โดย ผศ.ดร. ศิริพรณ์ ปีเตอร :การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (www.smeservicecenter.net)

• www.pb-pac.com/index.php?lay=show
• www.companyinthailand.com/company_search.php?
• www.plazathai.com/show-142766.html
• www.tistr.or.th/tpc/

www.mew6.com/composer/.../package_22.php
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
          - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
          - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
          - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
          - ขอเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
          - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
          - ผลการสอบ
          - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
          - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
          - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
          - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
          - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
          - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
          - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ