การควบคุมน้ำเสียทางอุตสาหกรรม

Industrial Water Pollution Control

เพื่อให้ผู้เรียนศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมและลักษณะของน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม การลดปริมาณน้ำเสียและเทคโนโลยีสะอาดในการบำบัดน้ำเสีย รวมไปถึงกฎหมายและข้อกำหนด 
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาวิชาให้ทันกับความเปลี่ยนแปลงโดยเน้นการนำไปในใช้ในการทำงานอย่างเหมาะสมในแต่ละสถานการณ์ อีกทั้งให้สอดคล้องกับระเบียบและแนวปฏิบัติ เรื่องกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ของกระทรวงศึกษาธิการและสำนักงานการอุดมศึกษา (2552) และการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมและลักษณะของน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม การลดปริมาณน้ำเสียและเทคโนโลยีสะอาดในการบำบัดน้ำเสีย กฎหมายและข้อกำหนด
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ) และการติดต่อทาง e-mail address ที่ pttwp512@yahoo.com
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาฯ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1 ให้ความรู้โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในเนื้อหาของบทเรียนต่างๆ
1.2.2 ให้นักศึกษาทำที่มอบหมายด้วยตัวเอง และส่งภายในเวลาที่กำหนด โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ และมีการอ้างอิงแหล่งที่มาโดยไม่มีการคัดลอกหรือแอบอ้างผลงานผู้อื่นมาเป็นของตนเอง
1.2.3 ให้นักศึกษานำความรู้ที่ค้นคว้ามา แลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนในกลุ่มและนำเสนอผลงานเขียนที่สร้างสรรค์ โดยไม่ส่งผลกระทบในทางลบต่อสังคมและชุมชน
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.5 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยายและให้ศึกษาความรู้ในบทเรียนเพิ่มเติมและแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนในกลุ่ม
2.2.2 อธิบายเป็นขั้นตอนและเปิดโอกาสให้ซักถาม
2.2.3 ได้จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการนำนักศึกษาไปทัศนศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง พร้อมให้นักศึกษาทำรายงานประกอบเป็นกลุ่มพร้อมนำเสนอผลงาน
2.3.1 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.2 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.3 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.2.1 ให้นักศึกษาระดมสมอง แสดงความคิดเห็นทั้งเป็นรายบุคลคลและเป็นกลุ่มย่อย
3.2.2 ให้นักศึกษาได้มีการนำเสนอแบบอภิปรายกลุ่ม
3.3.1 การร่วมกลุ่มกิจกรรมในชั้นเรียน
3.3.2 พิจารณาจากงานที่มอบหมาย
3.3.3 การสรุปความคิดรวบยอดของแต่ละหน่วยเรียน
3.3.4 การทดสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
4.1.1 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.2 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1 จัดกิจกรรมแบบกลุ่มย่อยในชั้นเรียน ในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความรู้ด้านต่างๆเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา
4.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับโรงงานต่างๆ รวมทั้งไปศึกษาในสถานประกอบการจริง พร้อมนำเสนอรายงานและมีการซักถามและแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ได้มา
4.3.1 การร่วมกลุ่มกิจกรรมในชั้นเรียน
4.3.2 พิจารณาจากงานที่มอบหมาย
4.3.3 พิจารณาจากพฤติกรรมของนักศึกษาแต่ละบุคคลรวมถึงพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1.1 ทักษะการค้นคว้า หาข้อมูล คิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน
และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร
5.1.6 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning
และทำแบบฝึกหัด และตรวจสอบความถูกต้อง
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1,2.1.2,2.1.3 2.1.1,2.1.2,2.1.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 35% 35%
2 3.1.2,3.1.3 3.2.1,3.2.2,4.1.2,4.1.5 1.1.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาค การศึกษา 20%
3 1.1.5 4.2.1,4.2.2,4.2.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2554. ตำราบำบัดมลพิษน้ำ พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ 4. สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. กรุงเทพฯ
2. กองจัดการคุณภาพน้ำ กรมควบคุมน้ำมีพิษ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สิ่งแวดล้อม.2545. น้ำเสียชุมชนและระบบบำบัดน้ำเสีย. พิมพ์ที่โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. กรุงเทพฯ
3. วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์. 2545. คู่มือวิเคราะห์น้ำและน้ำเสีย. พิมพ์ครั้งที่ 1. บริษัท จุดทอง จำกัด. กรุงเทพฯ
4. สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย. 2547. คู่มือวิเคราะห์น้ำเสีย. พิมพ์ครั้งที่ 4 (ปรับปรุงครั้งที่ 2). สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ
5. พรรษวรรณ ศรีนาค. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2556. การควบคุมมลพิษทางน้ำ. พิมพ์ครั้งที่ 3. สำนักพิมพ์ มีนเซอร์วิส ซัพพลาย. กรุงเทพมหานคร
6. Tom D. Reynolds and Pual A. Reynolds ., 1996. Unit Operation and Process in Environmental Engineering.2nd ed. PWS Publ. Co., Ltd. Boston
7. W.Wealey Eckenfelder, Jr, 2000. Industrial Water Pollution Control. 3rd ed. McGraw-Hill.
8. มั่นสิน ตัณฑุลเวศม์, 2542. เทคโนโลยีบำบัดน้ำเสียอุตสาหกรรม เล่ม 1- 2. พิมพ์ครั้งที่ 1. แซน.อี.68 คอนซัลติ้ เอ็นจิเนียรส์, กรุงเทพฯ
9. เกรียงศักดิ์ อุดมสินโรจน์, 2539. การบำบัดน้ำเสีย. มิตรนราการพิมพ์, กรุงเทพฯ
10. มงคล ดำรงศรี, 2548. เอกสารประกอบการสอนเรื่อง Biological Treatment Process. ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
11. กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. 2547. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการป้องกันมลพิษในอุตสาหกรรมรายสาขาชุบโลหะ. ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ.
12. กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. 2553. โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดสำหรับอุตสาหกรรมรายสาขา-ก๋วยเตี๋ยวและเส้นหมี่. ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ.
13. กรมควบคุมมลพิษ, 2548. แนวปฏิบัติที่ดีด้านการป้องกันและลดมลพิษ อุตสาหกรรมอาหารทะเลแปรรูป ประเภทปลา. ส่วนน้ำเสียอุตสาหกรรม สำนักจัดการคุณภาพน้ำ กรมควบคุมมลพิษ. ISBN 974-9669-88-6
14. สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์. 2557. ระบบบำบัดน้ำเสีย.บริษัท สำนักพิมพ์ท้อป จำกัด. กรุงเทพฯ
15. กรมควบคุมมลพิษ, 2548. แนวปฏิบัติที่ดีด้านการป้องกันและลดมลพิษอุตสาหกรรมฟอกย้อม. ส่วนน้ำเสียอุตสาหกรรม สำนักจัดการคุณภาพน้ำ กรมควบคุมมลพิษ.
16. กรมควบคุมมลพิษ, 2548. แนวปฏิบัติที่ดีด้านการป้องกันและลดมลพิษอุตสาหกรรมยางแผ่นรมควัน. ส่วนน้ำเสียอุตสาหกรรม สำนักจัดการคุณภาพน้ำ กรมควบคุมมลพิษ. ISBN 974-9669-83-5.
17. กรมควบคุมมลพิษ, 2548. แนวปฏิบัติที่ดีด้านการป้องกันและลดมลพิษอุตสาหกรรมอาหารสัตว์.ส่วนน้ำเสียอุตสาหกรรม สำนักจัดการคุณภาพน้ำ กรมควบคุมมลพิษ. ISBN 974-9669-92-4.
1. ฐานข้อมูลของกระทรวงอุตสาหกรรม www.industry.go.th
2. ฐานข้อมูลกรมควบคุมมลพิษ www.pcd.go.th
3. ฐานข้อมูลกรมโรงงานอุตสาหกรรม http://www.diw.go.th
4. ฐานข้อมูลกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม http://www.deqp.go.th
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านการให้คำปรึกษานอกชั้นเรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกสาขา หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ