การเขียนบทเพื่อการสื่อสาร

Script Writing for Communication

1.ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2.มีความรู้ด้านหลักการเขียนบท
3.มีความสามารถในการค้นคว้าข้อมูลและคิดสร้างสรรค์
4.มีทักษะในการเขียนบทประเภทต่างๆ
 
ปรับปรุงเนื้อหา  และวิธีการสอน  ใบงาน  กิจกรรม ให้เหมาะสม เพื่อจัดการเรียนการสอนผ่านออนไลน์
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการและเทคนิคการเขียนบทเพื่อผลิตสื่อประเภทต่างๆ
ทฤษฎีและแนวคิดที่ช่วยพัฒนาการเขียนบท  แนวคิดและแรงบันดาลใจ  การเขียนบทรายการโทรทัศน์  การเขียนบทภาพยนตร์โฆษณา การเขียนบทภาพยนตร์และแอนิเมชั่น
ให้คำปรึกษาตามความต้องการ ตามชั่วโมงเวลาว่าง
(ดำ)ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
ตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน
การส่งงาน
การสอดแทรกในการบรรยาย
-การเข้าชั้นเรียนสม่ำเสมอ
-ความรับผิดชอบในการส่งงาน
-วิเคราะห์งานปฏิบัติ
 
(2.1 ดำ)รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง
(2.2 ขาว) มีความสามารถในการค้นคว้า แก้ปัญหาและพัฒนาด้านศิลปกรรมอย่างเป็นระบบ
(2.3 ขาว)มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
บรรยาย ยกตัวอย่าง  กรณีศึกษา  สาธิต
มอบหมายให้ศึกษาค้นคว้า
ศึกษาด้วยตัวเองผ่านเอกสารประกอบการสอน
บรรยาย  ยกตัวอย่าง
กรณีศึกษา  
สอบย่อย การสอบกลางภาค และปลายภาค
 
 
 (ดำ) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
(ขาว) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้า และเรียบเรียงข้อมูลเพื่อใช้ในการทำงาน  กิจกรรมในชั้นเรียน  แบบฝึกหัดวิเคราะห์งานเขียนบท
   กรณีศึกษา
ประเมินจากการวิเคราะห์ผลงานเขียนบท
-กิจกรรมการศึกษาข้อมูล ทั้งการศึกษาค้นคว้า และภาคสนาม  และนำเสนอ
-กิจกรรมกระบวนการคิดวางแผนในการวางแนวคิดในการเขียนบท
-การตรวจเลคเช่อร์
(ขาว)มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
-การมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม
-การส่งงานสม่ำเสมอ
-การตรงต่อเวลา
การเช้าชั้นเรียน การส่งงานตรงเวลา
-บัญชีการส่งงาน
-การเขียนกระบวนการทำงานและปัญหาที่เกิดขึ้นในการทำงาน
(ขาว) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลและรวมรวมเพื่อนำเสนอ  หรือสรุปเป็นแนวคิด และเขียนบท ผลิตสื่อเพื่อนำเสนอ
 
การนำเสนองาน  รายงาน
สื่อสำหรับนำเสนอ
( 6.2 ดำ )มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
  (ุ6.3 ขาว) มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
การปฏิบัติงานในชั้นเรียน
งานมอบหมาย  โครงงาน
ประเมินจากผลงานปฏิบัติ
งานมอบหมาย /โครงงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.2มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 1.3มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ 2.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง 2.2มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ 1.3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 1.4มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 3.2สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3.3สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ 3.4มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 3.1สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ 4.1มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี 4.2มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 1สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม 1มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 6.2มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 6.3มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BAACD107 การเขียนบทเพื่อการสื่อสาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,4.2 การส่งงานตรงเวลา การติดตามงานสม่ำเสมอ การเข้าเรียน การไปศึกษา สงงานครบ ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9,11 30%
3 3.2,5.2 กระบวนการทำงานในขั้นการศึกษาค้นคว้าข้อมูล ผลงานการรายงานข้อมูล งานนำเสนอ ผลงานมอบหมาย สื่อในการนำเสนอ การวิเคราะห์รายการ ตลอดภาคการศึกษา 20%
4 5.2 งานปฏิบัติในชั้นเรียน ตลอกภาคการศึกษา 40%
เพ็ญศรี  จุลกาญจน์.(2553).  เอกสารประกอบการสอนวิชาการเขียนบทเพื่อการสื่อสาร สาขาวิชา   ออกแบบสื่อสาร  คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.
จรูญพร ปรปักษ์ประลัย.(2548).Animation Say Hi!. กรุงเทพฯ:ซีเอ็ดยูเคชั่น
-
จรูญพร ปรปักษ์ประลัย.(2548).Animation Say Hi!. กรุงเทพฯ:ซีเอ็ดยูเคชั่น
-------------------------.(2551).สะดุดโลกแอนิเมชั่น. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์มูลนิธิเด็กไทย
-------------------------.(2552).คนปรุงเรื่อง. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์มูลนิธิเด็กไทย
รักกศานต์  วิวัฒน์สินอุดม(2547).เสกสรร  ปั้นหนัง:บทภาพยนตร์.กรุงเทพฯ :บริษัทบ้านฟ้าจำกัด
เน้นการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของผู้เรียนโดยใช้วิธีการดังนี้

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  การสอบถามนักศึกษาในชั้นเรียน

การส่งข้อเสนอส่วนตัวให้ผู้สอน  โดยการเขียนแสดงความคิดเห็นในการสอน ผ่านช่องทางต่าง  เช่น  แบบแสดงความคิดเห็น  E-mail
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การมีส่วนร่วมของนักศึกษา
2.3   การพัฒนาการทำงานของนักศึกษา
2.4   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ โดยการให้นักศึกษาประเมินตัวเอง
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการมีส่วนร่วมของนักศึกษาดังนี้
3.1   ดูผลการประเมินรายวิชาของนักศึกษา
3.2   ปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน ตามข้อเสนอ
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย  และปลายภาคให้นักศึกษาประเมินตนเอง
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนกิจกรรม  เนื้อหา  ใบงาน และการประเมินผล