เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวพืช

Post Harvest Technology

1. รู้ขอบเขตและความสำคัญของวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวพืช
2. รู้ลักษณะองค์ประกอบทางเคมีของผลิตผลพืช
3. เข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาและชีวเคมีที่สำคัญหลังการเก็บเกี่ยว
4. เข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพและอายุการเก็บเกี่ยว
5. เข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับการเก็บเกี่ยว การเตรียมผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยว การเก็บรักษา คุณภาพและมาตรฐาน และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยว
6. เห็นความสำคัญของวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิเคราะห์ปัญหาและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติต่อผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศประกอบการวิเคราะห์อันเป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนำเอาเทคโนโลยีไปใช้ โดยมีการนำเอาผลงานวิจัยใหม่ๆ มาเพิ่มเติมในเนื้อหาของรายวิชาให้ทันสมัยสอดคล้องกับ ปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและขอบเขตของเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาและชีวเคมี ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษา ดัชนีและวิธีการเก็บเกี่ยว การควบคุมศัตรูพืช การปฏิบัติการหลังการเก็บเกี่ยว การเก็บรักษาด้วยวิธีการต่างๆ ตลอดจนวิธีการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานของผลผลิต
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/ สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ) 
1.1.1 ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับของสถาบัน และสังคม
1.1.2 แสดงออกถึงความซื่อสัตย์ อดทน มีวินัย และรับผิดชอบต่อตนเอง
1.1.3 แสดงออกถึงการคารพสิทธิ การให้เกียรติและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4 มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพเกษตร และตระหนักถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
1.2.1 เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายเหมาะสม รวมทั้งการให้เกียรติครูอาจารย์ และเพื่อนนักศึกษา
1.2.2 มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี และการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.3.1 ประเมินจากการเข้าชั้นเรียนสม่ำเสมอ ตรงต่อเวลา มีส่วนร่วมในการการปฏิบัติงานกลุ่ม
1.3.2 ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการสอบ
1.3.3 ประเมินจากการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 สามารถค้นคว้าหาความรู้ในสาขาที่เกี่ยวข้องจากแหล่งข้อมูลต่างๆ โดยเฉพาะงานตีพิมพ์ทางวิชาการ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.1.2 มีความรู้ หลักคิด ทฤษฏี และมีทักษะทางด้านการเกษตร และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เป็นพื้นฐานสำหรับการประกอบอาชีพ
2.1.3 สามารถประยุกต์ศาสตร์ด้านการเกษตร และศาสตร์ที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ปัญหา และประกอบอาชีพ
2.2.1. การสอนแบบการตั้งคำถาม และให้มีการอภิปรายกลุ่ม
2.2.2 การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการ
2.2.3 กำหนดให้หาความรู้เพิ่มเติมทางอินเตอร์เน็ต งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และนำเสนองานในชั้นเรียน
2.3.1. การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคและปลายภาค
2.3.2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายกลุ่ม
2.3.3 ประเมินจากการนาเสนองานและส่งรายงาน
2.3.4 ศึกษานอกสถานที่
3.1.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1 การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการ
3.3.1 การปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 ให้ทำงานมอบหมายเป็นกลุ่ม
4.2.2 ให้มีการนำเสนอข้อมูลของกลุ่มแก่เพื่อนๆ ในชั้นเรียน
4.3.1 ประเมินจากการนำเสนอผลงาน ความตั้งใจและการมีส่วนร่วมในการทำงานกลุ่ม
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 จัดการเรียนการสอนที่เน้นการฝึกทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง และการเขียน ในระหว่างผู้เรียน และผู้เกี่ยวข้อง
5.2.2 จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่หลากหลาย และเหมาะสม ทั้งเพื่อการค้นคว้า นำเสนอ และการวิเคราะห์เชิงตัวเลข และสถิติ
5.3.1 ประเมินจากการถาม-ตอบขณะเรียน
5.3.2 ประเมินจากทักษะจากการจัดทำสื่อนำเสนอผลงาน และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อนำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความ สัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2
1 BSCAG133 เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวพืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 1-11 และ บทที่ 12-18 สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 9 และ สัปดาห์ที่ 17 30% และ 30%
2 บทปฏิบัติการที่ 1-10 การทำงานกลุ่มและผลงาน การนำเสนอผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมายตรงเวลา ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 จิตพิสัย การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามที่มอบหมายตรงเวลาและไม่คัดลอกงานของผู้อื่น การมีส่วนร่วมอภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การเข้าร่วมกิจกรรมสาขา ตลอดภาคการศึกษา 4%
4 กิจกรรม การเข้าร่วมกิจกรรมมหาวิทยาลัย ตลอดภาคการศึกษา 6%
จริงแท้  ศิริพานิช. 2541. สรีรวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้. พิมพ์ครั้งที่ 2.    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. 396 หน้า.
ให้ผู้เรียนประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบความรู้ทักษะก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้ และมีระบบการประเมินรายวิชาโดยให้ผู้เรียนประเมินและแสดงความเห็นผ่านการประเมินรายวิชาทางระบบอินเตอร์เน็ต
อาจารย์ผู้สอนดำเนินการ โดยการสังเกต การดูผลการปฏิบัติงาน การตรวจรายงาน และการสอบกลางภาค และสอบปลายภาค โดยพิจารณาจากความสนใจ ความเข้าใจ และผลการเรียนของนักศึกษา
อาจารย์ผู้สอนวิชาประเมินการสอนด้วยตนเอง ด้วยการสังเกต การพิจารณาผลการเรียนและการสอบของนักศึกษา จัดทำรายงานประเมินตนเองเมื่อสิ้นภาคการศึกษาเสนอหัวหน้าสาขา
สาขาวิชามีคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินการสอน ข้อสอบ และความเหมาะสมของการให้คะแนน
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา และผลการประเมินโดยคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษามาพิจารณาร่วมกันในที่ประชุมคณะกรรมการหลักสูตร