ภาษาอังกฤษพื้นฐานเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ

Basic English for Business Oral Communication

เพื่อศึกษาและฝึกทักษะสัทศาสตร์ภาษาอังกฤษเบื้องต้น และการพูดติดต่อทางธุรกิจเบื้องต้น
เพื่อให้สามารถใช้ภาษาอังกฤษอย่างง่ายในการสื่อสารทางธุรกิจในยุคที่มีการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆและมีการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจแบบใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ศึกษาและฝึกทักษะสัทศาสตร์เบื้องต้น การพูดเบื้องต้น เช่น การแนะนำตัว การแนะนำบริษัท การสนทนาทางโทรศัพท์เบื้องต้น การบอกทิศทาง การพูดเกี่ยวกับอาชีพ ตำแหน่ง ลักษณะงาน An introductory course on basic phonetics, listening and speaking in business situations including telephoning, introducing people and self-introduction, describing company backgrounds and careers, and giving directions.
5 ชั่วโมง
 
1.1.2  มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
1.1.3  มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
 
1.2.3. ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.2.4. กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม  เน้นความมีส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น
1.2.7. อธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน
1.3.2  การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่ง กาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.3.3  การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
1.3.4. การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
1.3.4  ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อนและครูอาจารย์
1.3.5. ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
 
2.1.1  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.1.2  มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
2.2.1.  จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
2.2.4.  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
2.2.6  การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ
2.3.1.  การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.7   ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
3.1.3  คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
3.2.5  การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง
3.2.6  การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
3.2.7  จัดให้ในรายวิชา มีกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญา ความคิด   การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ด้านต่าง ๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา
3.3.1  ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
3.3.2  การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในบริบทต่าง ๆ
3.3.3. การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
3.3.7  ประเมินจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง
4.1.1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
4.1.2. มีความสามารถในการแสดงความริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
4.2.2  จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
4.2.6   มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
 
4.3.2  พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
4.3.5 พฤติกรรม ภาวการณ์เป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี
 
5.1.2.  สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
5.1.3.  สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
5.2.3  จัดให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
5.2.6   มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
5.3.2  ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
5.3.3  พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษาการสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 2 3 4 1 2 3 4 1. 2 3 1. 2 4 2 3 1. 2 3 4 5
1 BBABA703 ภาษาอังกฤษพื้นฐานเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1. 1 และ 2.1..2 การสอบกลางภาคและปลายภาค สัปดาห์ที่ 9 และ 17 1. การสอบกลางภาค 15% 2. การสอบปลายภาค 15%
2 2.1.1 2.1.2 3.1.3 5.1.2 5.1.3 2.3.7 ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน 3.3.1 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา 3.3.2 การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในบริบทต่าง ๆ 3.3.3. การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง 3.3.7 ประเมินจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง 5.3.2 ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม 5.3.3 พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษาการสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 1.1.2 1.1.3 4.1.1 4.1.2 1.3.2 การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่ง กาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 1.3.3 การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม 1.3.4. การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน 1.3.4 ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อนและครูอาจารย์ 1.3.5. ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ 4.3.2 พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา 4.3.5 พฤติกรรม ภาวการณ์เป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี ตลอดภาคการศึกษา 20%
Get Ready for International Business. Book 1.  Andrew Vaughan & Dorothy E. Zemach. Macmillan (2014).
Oxford Advanced Learners' Dictionary. 9th edition.
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง
ประเมินโดยใช้แบบสอบถามของมหาวิทยาลัย
 
1. การสอบ
2. การพูดคุยกับนักศึกษา
3.  การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา
4.  ผลงานของนักศึกษา
เป็นการสอนครั้งแรก จึงต้องรอผลการประเมินเพื่อนำไปปรับปรุงการสอน
ไม่มี
จะมีการทบทวนและวางแผนปรับปรุงหลังการประเมิน