การจัดการผลิตภัณฑ์และตราสินค้า

Product and Brand Management

ศึกษาบทบาทของผลิตภัณฑ์ แนวคิดการจัดการส่วนผสมผลิตภัณฑ์  การพัฒนากลยุทธ์การตลาดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ การศึกษาสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกที่มีผลกระทบต่อการกำหนดนโยบายผลิตภัณฑ์ ความหมาย และความสำคัญของตราสินค้า การรับรู้ของผู้บริโภคต่อภาพลักษณ์ตราสินค้า องค์ประกอบของตราสินค้าในมิติต่างๆ คุณค่าโดยรวมของตราสินค้า
        เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ เกี่ยวกับบทบาทของผลิตภัณฑ์ แนวคิดการจัดการส่วนผสมผลิตภัณฑ์  การพัฒนากลยุทธ์การตลาดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ การศึกษาสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกที่มีผลกระทบต่อการกำหนดนโยบายผลิตภัณฑ์ ความหมาย และความสำคัญของตราสินค้า การรับรู้ของผู้บริโภคต่อภาพลักษณ์ตราสินค้า องค์ประกอบของตราสินค้าในมิติต่างๆ คุณค่าโดยรวมของตราสินค้า
ศึกษาบทบาทของผลิตภัณฑ์ แนวคิดการจัดการส่วนผสมผลิตภัณฑ์  การพัฒนากลยุทธ์การตลาดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ การศึกษาสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกที่มีผลกระทบต่อการกำหนดนโยบายผลิตภัณฑ์ ความหมาย และความสำคัญของตราสินค้า การรับรู้ของผู้บริโภคต่อภาพลักษณ์ตราสินค้า องค์ประกอบของตราสินค้าในมิติต่างๆ คุณค่าโดยรวมของตราสินค้า
  อย่างน้อย 10 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยทำการรับให้คำปรึกษาที่ห้องสาขาวิชาการตลาด นักศึกษาสามารถเข้าพบอาจารย์ผู้สอนได้ตลอดเวลาทำการ และสามารถปรึกษานอกเวลาทำการได้ผ่าน social media
1.1   มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึก
สาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
1.3   มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
 
        1.2.1 บรรยายพร้อมสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึก
สาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
        1.2.2 ให้ความสำคัญในด้านระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา และการส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
        1.3.1 ประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรม การเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา
2.1.1   มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.1.3   มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
        2.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
        2.2.2 ใช้การสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชา โดยเน้นหลักของทฤษฎี และปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้
        2.2.3 มอบหมายให้ทำแบบฝึกหัด หรือรายงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
        2.3.1 ประเมินจากสอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
        2.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3.1.2  สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบ จากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ
3.1.3  คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
 
        3.2.1 การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำวางแผนกลยุทธ์ด้านสินค้าและตราสินค้า โดยวิเคราะห์ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกทางการตลาดประกอบการว่างแผนเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันให้กับสินค้าและตราสินค้าของตน
        3.3.1 ประเมินจากงานมอบหมาย โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียน และเอกสารรายงาน
4.1.1  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
4.1.4  มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
 
        4.2.1 จัดกิจกรรมมอบหมายให้ทำเป็นกลุ่ม
 
        4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
        4.3.2 สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1.2  สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
 
        5.2.1 มอบหมายงาน และให้ทำการนำเสนอหน้าชั้นเรียนโดยให้นำเสนอผ่าน powerpoint และทำรูปเล่มรายงานส่ง
        5.3.1 ประเมินจากการนำเสนอหน้าชั้นเรียน รายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
 
 
6.1.1  สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
 
            6.2.1 มอบหมายให้นักศึกษาทำโครงการออกแบบและสร้างผลิตภัณฑ์และตราสินค้าให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายโดยใช้ทักษะด้านต่างๆ ที่เรียนมาจากศาสตร์ต่างๆบูรณาการเพื่อสร้างสรรค์ผลงาน
            6.3.1 ประเมินจากชิ้นงานและการนำเสนอโครงการ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ(Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5
1 BBABA603 การจัดการผลิตภัณฑ์และตราสินค้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.3, 2.1, 2.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 และ 16 20% และ 20%
2 1.1,1.3, 2.1,2.3, 3.2, 3.3, 4.1, 4.4, 5.2, 6.1 การปฏิบัติ ค้นคว้า การวิเคราะห์ การนำเสนอ ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 1.1,1.3, 4.1 ความมีระเบียบวินัย ความตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ ตลอดภาคการศึกษา 10%
รศ.ศิริวรรณ เสรีรัตน์. นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา. กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด(มหาชน)
Kotler, P and Keller K, L. 2009. Marketing Management. 13th ed. New Jersey: Pearson Education.
 
วารสาร นิตยสาร บทความหรืองานวิจัยต่าง ๆ ทางการตลาด และ เว็บไซต์ทางธุรกิจ
     7.1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
     7.1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
     7.1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
      7.2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
      7.2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
     7.3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
     7.3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
     7.4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น
     7.4.2 การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ
     7.5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
     7.5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการตลาดให้มีความหลากหลายมากขึ้น