การผสมเทียมสัตว์

Animal Artificial Insemination

1. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจกายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบสืบพันธุ์สัตว์ทั้งเพศผู้และเพศเมีย
   2. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจวิธีการรีดเก็บน้าเชื้อ การตรวจคุณภาพน้าเชื้อ การเจือจางและการเก็บรักษา
      น้ำเชื้อโคและสุกร
   3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถตรวจวินิจฉัยการเป็นสัดของโคและสุกรได้อย่างถูกต้อง
   4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติการทาผสมเทียมโคและสุกรได้
   5. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจสรีระวิทยาการเป็นสัด การปฏิสนธิ การอุ้มท้อง และการคลอด
   6. เพื่อให้นักศึกษาเห็นความสำคัญของการผสมเทียมที่มีผลต่อประสิทธิภาพของการผลิตสัตว์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกายวิภาคของระบบสืบพันธุ์สัตว์เลี้ยง กลไกทางสรีรวิทยา
และระบบเอ็นโดรไคน์ที่ควบคุมระบบสืบพันธุ์ อันจะนาไปสู่การที่จะสามารถปฏิบัติการทาผสมเทียมสัตว์เลี้ยงได้


อย่างมีประสิทธิภาพ
   ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับกายวิภาคและสรีรวิทยาระบบสืบพันธุ์ ระบบต่อมไร้ท่อในระบบสืบพันธุ์ การ
รวบรวมน้าเชื้อ การตรวจคุณภาพน้าเชื้อ การเจือจาง การเก็บรักษาน้าเชื้อ การเป็นสัด เทคนิคการผสมเทียม
การอุ้มท้อง การคลอด ประสิทธิภาพการผสมเทียม ความสมบูรณ์พันธุ์ โรคทางระบบสืบพันธุ์ การแก้ไขปัญหา
ทางระบบสืบพันธุ์สัตว์
อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1. มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น สำนึกในหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น
 2. เคารพในสิทธิ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
 3. เคารพในศักดิ์ศรีของสัตว์ การเป็นเพื่อนร่วมโลก และการเป็นผู้ให้ทักษะทางปฏิบัติแก่ผู้เรียน
1. อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในการสอน
     2. กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย
     3. เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
     4. มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นำสมาชิกกลุ่ม ฝึกความรับผิดชอบ
     5. การเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์
1. ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย การเข้าร่วม
        กิจกรรม
     2. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
     3. ประเมินจากพฤติกรรมการเรียนและการสอบ
1. เข้าใจความรู้ในศาสตร์ด้านกายวิภาคและสรีระวิทยาระบบสืบพันธุ์ของสัตว์เลี้ยง
     2. มีความรอบรู้ถึงระบบเอ็นโดรไคน์ ฮอร์โมนที่ควบคุมระบบสืบพันธุ์
     3. มีความเข้าใจในสรีระวิทยาการเป็นสัด การอุ้มท้อง และการคลอด
     4. มีความรู้การเจือจางน้าเชื้อ และการเก็บรักษาน้าเชื้อ
     5. มีความรู้ด้านการตรวจวินิจฉัยการเป็นสัด การอุ้มท้องในโคและสุกร
     6. มีความรู้ในการทำผสมเทียมโคและสุกร
1. เน้นการเรียนการสอนให้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง (Learning by doing)
     2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
     3. จัดบรรยายพิเศษโดยวิทยากรภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญ หรือมีประสบการณ์ตรง
1. การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
     2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
     3. การสอบย่อย
     4. จากรายงานการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษา
1. สามารถบูรณาการความรู้ในศาสตร์การทำผสมเทียมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิตสัตว์
     2. สามารถสืบค้นและประเมินข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
     3. สามารถคิด วิเคราะห์ปัญหาเบื้องต้นเมื่อทำการผสมเทียมล้มเหลว หรือการกำหนดแนวทางการเพิ่ม
        ประสิทธิผลของการทาผสมเทียม
     4. สามารถวางแผนเพื่อกำหนดช่วงการทำผสมเทียม การกลับสัด การตรวจท้อง และกำหนดวันคลอด
        ของโคและสุกรได้
1. จัดกระบวนการเรียนการสอนที่ฝึกทักษะการคิดในระดับบุคคลและกลุ่ม เช่น การอภิปรายกลุ่ม การ
        ทำกรณีศึกษา เป็นต้น
     2. จัดกิจกรรมให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติงานจริง
1. การเขียนรายงานของนักศึกษา
     2. การนำเสนอผลงาน
     3. การใช้ข้อสอบหรือแบบฝึกหัดที่ให้นักศึกษาคิดแก้ปัญหา
1. มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในฐานะผู้นำหรือสมาชิกของกลุ่ม
     2. สามารถปรับตัว รับฟัง ยอมรับความคิดเห็น และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ทั้งในฐานะผู้นำและ
        สมาชิกของกลุ่ม
     3. มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
     4. สามารถรวมกลุ่มคิดริเริ่ม วางแผน และตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งดารงชีวิตได้อย่าง
        มีความสุข
     5. รับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการทำงานเป็นกลุ่มและงานที่ต้องมีปฎิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
     2. สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจวัฒนธรรมขององค์กร ฯลฯ
1. สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาขณะทำกิจกรรมกลุ่ม
     2. การนำเสนอผลงานเป็นกลุ่ม
     3. ประเมินความสม่ำเสมอของการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
     4. ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
     5. ประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้น
     1. สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งการฟัง พูด อ่าน และ
        เขียน
     2. ก้าวทันเทคโนโลยีปัจจุบันและสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับสถานการณ์
        เพื่อการสืบค้น ศึกษาด้วยตนเอง นำเสนอ และสื่อสาร
3. เข้าใจปัญหา วิเคราะห์ และเลือกใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์และสถิติที่เหมาะสมในการ
        แก้ปัญหา
1. จัดการเรียนการสอนที่เน้นการฝึกทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน ในระหว่างผู้เรียน
        ผู้สอน และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ
     2. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
        หลากหลายและเหมาะสม
     3. จัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนนำเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทาง
        คณิตศาสตร์และสถิติ
1. ทักษะการพูดในการนำเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
     2. ทักษะการเขียนรายงาน
     3. ความสามารถในการใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่ออธิบาย อภิปรายผลงานได้อย่างเหมาะสม
     4. เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาเชิงตัวเลข
1. สามารถปฏิบัติการรีดน้าเชื้อโคหรือสุกรได้
     2. สามารถเตรียมน้ำยาเจือจาง และปฏิบัติการเจือจางน้ำเชื้อได้อย่างถูกต้อง
     3. สามารถปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยการเป็นสัด การอุ้มท้องในโคและสุกรได้
     4. สามารถปฏิบัติการทำผสมเทียมโคและสุกรได้อย่างถูกต้อง
     5. สามารถปฏิบัติการช่วยคลอดโคหรือสุกรได้อย่างปลอดภัย
1. เน้นการเรียนการสอนให้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง (Learning by doing)
     2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
1. ประเมินจากการทดสอบโดยวิธีการให้ปฏิบัติจริง
     2. ประเมินจากการทดสอบโดยวิธีการเขียนบรรยาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในการสอน 2. กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย 3. เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 4. มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นำสมาชิกกลุ่ม ฝึกความรับผิดชอบ 5. การเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์ 1. เน้นการเรียนการสอนให้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง (Learning by doing) 2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง 3. จัดบรรยายพิเศษโดยวิทยากรภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญ หรือมีประสบการณ์ตรง 1. จัดกระบวนการเรียนการสอนที่ฝึกทักษะการคิดในระดับบุคคลและกลุ่ม เช่น การอภิปรายกลุ่ม การทำกรณีศึกษาเป็นต้น 2. จัดกิจกรรมให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติงานจริง 1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการทำงานเป็นกลุ่มและงานที่ต้องมีปฎิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 2. สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจวัฒนธรรมขององค์กร ฯลฯ 1. จัดการเรียนการสอนที่เน้นการฝึกทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน ในระหว่างผู้เรียน ผู้สอน และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ 2. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1. เน้นการเรียนการสอนให้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง (Learning by doing) 2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
1 23022302 การผสมเทียมสัตว์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบผ่านไม่น้อยกว่า 50% สอบกลางภาค 9 25
2 สอบผ่านไม่น้อยกว่า 50% สอบปลายภาค 17 25
3 สอบย่อยผ่านไม่น้อยกว่า 50 % จัดให้มีการสอบย่อยเป็นช่วง ๆ ตลอดภาคการศึกษา 10
4 ส่งรายงานครบและถูกต้อง การทำรายงาน ตลอดภาคการศึกษา 10
5 สามารถทำการผสมเทียมสัตว์ได้อย่างถูกต้อง ทดสอบปฏิบัติการทำผสมเทียม 16 20
6 สามารถทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม มีการนำเสนอหน้าชั้นเรียนในเนื้อหาที่มอบหมายได้อย่างถูกต้อง การทำงานกลุ่ม การมีส่วนร่วม อภิปรายเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
1. สุรชัย ชาครียรัตน์. 2545. การสืบพันธุ์และการผสมเทียมโค-กระบือ. สานักส่งเสริมและฝึกอบรม
      มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพ ฯ.
   2. ศรีสุวรรณ ชมชัย. 2542. คู่มือปฏิบัติการผสมเทียมสุกร. สานักพิมพ์สัตว์เศรษฐกิจ. กรุงเทพ ฯ.
   3. สมพร ดวนใหญ่. 2538. การผสมเทียมโค. คณะเกษตรและอุตสาหกรรม, มหาวิทยาลันราชภัฏ
      อุบลราชธานี. อุบลราชธานี.
   4. อรรณพ คุณาวงษ์กฤต. 2545. วิทยาการสืบพันธุ์สุกร. สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
      กรุงเทพ ฯ.
   5. ปราจีน วีรกุล, พรรณพิไล เสกสิทธิ์, มงคล เตชะกาพุ, วิษณุ ไพศาลรุ่งพนา, สุณีรัตน์ เอี่ยมละมัย
      และสุวิชัย โรจนเสถียร. 2548. การผสมเทียมโค. สัตวแพทยสภา. กรุงเทพฯ .
ไม่มี
   http://www.dld.go.th/
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ได้ให้นักศึกษา
เข้าประเมินผลการเรียนการสอนตามแบบฟอร์ม โดยการนำแนวคิดและความคิดเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
   - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ใช้กลยุทธ์ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนดังนี้
   - การสนทนาแลกเปลี่ยนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
   - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
   - ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษา
   - การทวนสอบผลประเมินผลการเรียนรู้
หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม
สมอง และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
   ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ใน
รายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบ
ย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
   - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่
     อาจารย์ประจาหลักสูตร
   - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ


     ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา จะมีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและ
รายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
   - ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4