อาหารไทยและอาหารนานาชาติ

Thai and International Food

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับลักษณะและประเภทของอาหารไทย อาหารนานาชาติทั้งอาหารคาวและอาหารหวาน สามารถกำหนดรายการอาหาร การเลือกซื้อเครื่องปรุง การเลือกใช้อุปกรณ์ในการปรุง การประกอบอาหารและการจัดบริการผสมผสานแบบไทยและนานาชาติ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะและประเภทของอาหารไทย สูตรอาหารและการทำเครื่องแกงแบบไทยแท้ และสูตรอาหารอาหารนานาชาติทั้งอาหารคาวและอาหารหวานที่เป็นที่นิยม เพื่อให้นักศึกษาสามารถกำหนดรายการอาหาร การเลือกซื้อเครื่องปรุงอย่างมีคุณภาพเหมาะกับแต่ละสถานประกอบการ สามารถการเลือกใช้อุปกรณ์ในการปรุง เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการประกอบอาหารและการจัดบริการผสมผสานแบบไทยและนานาชาติได้
ลักษณะและประเภทของอาหารไทย อาหารนานาชาติทั้งอาหารคาวและอาหารหวาน สามารถกำหนดรายการอาหาร การเลือกซื้อเครื่องปรุง การเลือกใช้อุปกรณ์ในการปรุง การประกอบอาหารและการจัดบริการผสมผสานแบบไทยและนานาชาติ A study of features and types of Thai and international food both meat dish and desserts; food list creation; food selection; food nutrition; fundamental cooking skills; ingredients selection, and mix serve in Thai and international
3.1  อาจารย์ประจำรายวิชาฯ ได้แจ้งให้นักศึกษาทราบในคาบแรก และแจ้งผ่านป้ายประกาศของสาขาวิชาฯเพื่อให้นักศึกษาได้จัดสรรเวลามาปรึกษาในวันพฤหัสบดี ตั้งแต่เวลา 8.30 ถึง 16.30 น. 3.2  อาจารย์ประจำรายวิชาฯ ได้จัดทำกลุ่ม ผ่านทาง Facebook กลุ่ม “มทร.ล้านนา THAI AND INTERNATIONAL FOOD” ให้เป็นช่องทางในการสื่อสารฯอีกทางหนึ่ง
1.1.1  มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.1.2  มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 1.1.3  มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการ พัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 1.1.4  มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.2.1  เน้นย้ำการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความร่วมมือต่าง ๆ ในชั้นเรียน 1.2.2  อภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน เช่น มีการนำข้อบกพร่องทางด้านวินัยมาหาข้อสรุปและทางออกว่าจะจัดการกับเพื่อร่วมห้องได้อย่างไร ซึ่งจะทำให้นักศึกษาที่ทำผิดเกิดความละอายใจและเป็นการเรียนรู้ของนักศึกษาคนอื่นด้วย 1.2.3  สอดแทรกกรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับ ทัศนคติ ความซื่อสัตย์ วินัย และความรับผิดชอบ ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
1.3.1 พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าเรียนและการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา 1.3.2  ประเมินผลการจากการทำงานเป็นกลุ่มและหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 1.3.3  การปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความร่วมมือต่าง ๆ เช่นเรื่องความสะอาด การเก็บอุปกรณ์ต่าง ๆ
2.2.1 มีความรู้เกี่ยวกับศึกษาวิวัฒนาการอาหารไทยและนานาชาติ โครงสร้างการปฏิบัติงานการครัวสากล 2.2.2 มีความรู้เกี่ยวกับการกำหนดรายการอาหาร เทคนิคการประกอบอาหาร
2.2.1  บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง Power Point Slides 2.2.2  การสาธิตตัวอย่าง Demonstrations 2.2.3  การทำงานกลุ่มและนำเสนอผลงาน 2.2.4  การเชิญวิทยากรที่มีความรู้เฉพาะด้าน Guest Speakers 2.2.5  ฝึกการปฏิบัติจริง Practice
2.3.1  ทดสอบกลางภาคและปลายภาค 2.3.2  ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน 2.3.3  การเก็บคะแนนย่อย
3.3.1 มีความสามารถประมวล และศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาอันนำมาซึ่งอุบัติเหตุต่าง ๆ ได้ รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 3.3.2 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 3.3.3 มีความสามารถประยุกต์ใช้รูปแบบหรือแนวโน้มใหม่ๆ จากภาคธุรกิจร้านอาหารและโรงแรมได้
3.2.1  ฝึกการเขียนรายงานการประกอบอาหารได้อย่างเป็นขั้นตอนและหาแนวทางแก้ไขได้ (Solving Problem) 3.2.2  เชิญวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะบรรยายเพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงการพัฒนาองค์ความรู้ในปัจจุบันเพื่อให้เกิดปัญญาในการคิดวิเคราะห์แยกแยะได้
3.3.1  ปฏิภาณไหวพริบในการตอบข้อซักถามอาจารย์ 3.3.2  พิจารณาจากการทำงานรวมกลุ่ม การประสานงานและรักษาอำนาจหน้าที่ในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายได้เป็นอย่างดี 3.3.3  การเก็บคะแนนกลางภาคและปลายภาค
4.1.1  มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหากลุ่ม 4.1.2  มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐาน
4.2.1  จัดกิจกรรมกลุ่มหรือการทำงานร่วมกับเพื่อนในชั้นเรียน
4.3.1  ประเมินผลจากการทำงานเสร็จตรงเวลามีความรับผิดชอบทั้งต่ออาจารย์ และเพื่อนในกลุ่มได้ 4.3.2  การเก็บคะแนนย่อย
5.1.1  มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.1.2  มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง  ทางเว็บไซต์  แล้ววิเคราะห์พร้อมกับนำเสนอ ทั้งแบบบรรยาย พร้อมกับบอกแหล่งอ้างอิง 5.2.2  นำเสนอผลการศึกษาในรูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ข้อสอบเก็บคะแนนย่อย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.2.1 เน้นย้ำการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความร่วมมือต่าง ๆ ในชั้นเรียน 1.2.2 อภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน เช่น มีการนำข้อบกพร่องทางด้านวินัยมาหาข้อสรุปและทางออกว่าจะจัดการกับเพื่อร่วมห้องได้อย่างไร ซึ่งจะทำให้นักศึกษาที่ทำผิดเกิดความละอายใจและเป็นการเรียนรู้ของนักศึกษาคนอื่นด้วย 1.2.3 สอดแทรกกรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับ ทัศนคติ ความซื่อสัตย์ วินัย และความรับผิดชอบ ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน 2.2.1 มีความรู้เกี่ยวกับศึกษาวิวัฒนาการอาหารไทยและนานาชาติ โครงสร้างการปฏิบัติงานการครัวสากล 2.2.2 มีความรู้เกี่ยวกับการกำหนดรายการอาหาร เทคนิคการประกอบอาหาร 3.3.1 มีความสามารถประมวล และศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาอันนำมาซึ่งอุบัติเหตุต่าง ๆ ได้ รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 3.3.2 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 3.3.3 มีความสามารถประยุกต์ใช้รูปแบบหรือแนวโน้มใหม่ๆ จากภาคธุรกิจร้านอาหารและโรงแรมได้ 4.1.1 มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหากลุ่ม 4.1.2 มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐาน 5.1.1 มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.1.2 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 BOATH119 อาหารไทยและอาหารนานาชาติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,2.1,1.4-2.6,3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 18 10% 15%
2 1.1,2.1,2.4-2.6,3.2,4.1-4.4,5.3-5.4 การค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 65%
3 1.1-1.7,3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
Neil Rippington PROFESSIONAL CHEF LEVEL 1 DIPLOMA The Culinary Institute of America THE FROFESSIONAL CHEF อบเชย วงศ์ทอง และ ขนิษฐา พูนผลกุล  หลักการประกอบอาหาร แม่บ้าน เชฟอาหารไทย ศรีสมร คงพันธุ์ อาหารไทยธุรกิจ แสงแดด อาหารฝรั่ง ศรีสมร คงพันธุ์ อาหารขึ้นทะเบียน มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ
เวปไซต์เกี่ยวกับการจัดเลี้ยง Cooking / Culinary / western food / อาหารไทย เป็นต้น
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการแกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิภาพผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เชิญวิทยากรเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ