การพิมพ์สกรีน

Screen Printing

เพื่อฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การใช้เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ การทำแม่พิมพ์สกรีน กระบวนการพิมพ์สกรีนแบบลายเส้น บนวัสดุพิมพ์ต่างๆ
เพื่อฝึกปฏิบัติความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมในการฝึกปฏิบัติด้านระบบการพิมพ์สกรีนในหลักการปฏิบัติการถ่ายทอดงานพิมพ์สกรีน ในแต่ละส่วนของระบบการพิมพ์สกรีน การเลือกใช้เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ให้ถูกต้องเหมาะสม ในกระบวนการสร้างแม่พิมพ์สกรีน การฉายแสง รวมไปถึงการพิมพ์สกรีนด้วยมือ ลักษณะภาพสกรีนแบบลายเส้น บนวัสดุพิมพ์แบบเรียบ และมีรูปทรง ให้สอดคล้องกับยุคสมัยของกระบวนการพิมพ์
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การใช้เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ การทำแม่พิมพ์สกรีน กระบวนการพิมพ์สกรีนแบบลายเส้น บนวัสดุพิมพ์ต่างๆ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ ให้อธิบายเพิ่มเติมให้กับนักศึกษา
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2.1 สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม โดยการอบรมหน้าห้องบางครั้งเมื่อเห็นว่านักศึกษาผิดคุณธรรมจริยธรรม
1.2.2 ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญในวิชาชีพนี้สามารถนำไปประกอบอาชีพในอนาคตได้
1.2.3 กำหนดการส่งชิ้นงานให้ตรงต่อเวลา เพื่อให้นักศึกษามีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายกำหนด
1.3.1 ประเมินจาการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.2 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3.3 ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 มีควมรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักกการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่สอนกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 ใช้การสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้
2.2.2 มอบหมายให้ค้นคว้ารายงานและนำเสนอผ่านระบบ Vdo conferrence 
2.2.3 จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงาน และการดูงานตัวอย่าง
2.2.4 จัดกิจกรรมการเรียน การสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ผลงานฝึกปฏิบัติที่ได้มอบหมายและประเมินจากการสอบภาคปฏิบัติ
2.3.2 รายงานที่มอบหมายในการสืบค้น
2.3.3 ความรู้จากกิจกรรมการสร้างสื่อสิ่งพิมพ์ด้วยระบบการพิมพ์สกรีนของผู้เรียน
2.3.4 รายงานผลการศึกษาดูงาน และวิเคราะห์ตัวอย่างงาน
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 มีความสามารถในการค้นหาความรู้ ข้อมูล และประเมินความถูกต้องด้วยตนเอง
3.2.2 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้นำไปสู่การสร้างสรรค์ภาคปฏิบัติ
3.3.1 งานที่ส่งเสริมความคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
3.3.2 การสร้างสรรค์ชิ้นงานด้านการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ด้วยระบบการพิมพ์สกรีน
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 มอบหมายงานกลุ่มสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี เพื่อให้นักศึกษาได้ร่วมช่วยกันแก้ไขปัญหาในงานที่ได้มอบหมายให้สำเร็จลุล่วง
4.2.2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.2.3 ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็นโดยการจัดอภิปรายและเสวนางานที่ได้รับมอบหมายที่ให้ค้นคว้า
.3.1 จากรายงานผลผ่านระบบ Vdo conferrence โดยอาจารย์และนักศึกษา
4.3.2 พฤติกรรมสภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4.3.3 ผลจากแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่ม
4.3.4 ผลอภิปรายและเสวนา
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการ ใช้เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.4 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานค้นคว้าความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.2.2 การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
5.3.1 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความรู้ มีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ
5.3.2 ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน
6.1.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.1.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
ใช้วิธีการสอน กำหนดใบงานให้นักศึกษาปฏิบัติ และอธิบายควบคุู่ไปกับการทำงานปฏิบัติ ทำตามใบงาน สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะวิชาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1. 2. 3. 1. 2 3
1 BTEPP109 การพิมพ์สกรีน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,2.1,3.1,5.1 ทดสอบภาคปฏิบัติการทำแม่พิมพ์สกรีน ประยุกต์ใช้ระบบการพิมพ์สกรีน 9,18 10%
2 1.1,2.1,3.1, 4.1,5.1, 6.1 การนำเสนอ รายงาน ผลงานการสอบปฏิบัติ การส่งงานตามที่มอบหมาย ผ่านช่องทางออนไลน์ ตลอดภาคการศึกษา 70%
3 1.1 – 1.5, 4.1 การเข้าเรียนออนไลน์ และปฏิบัติการในมหาวิทยาลัย การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทั้งในระบบออนไลน์ และปฏิบัติการ ตลอดภาคการศึกษา 20%
- เอกสารการสอนชุดวิชา วัสดุทางการพิมพ์ หน่วยที่ 9-15 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- การพิมพ์ซิลค์สกรีน Silk Screen Printing , ศักดิ์ชัย เกียรตินาคินทร์
- การพิมพ์สกรีน Screen Printing Technology , นงเยาว์ จิระกรานนท์
- Screen Printing design : an exclusive collection of contemporary silkscreened graphics, Lisa Walker and Steve Blunt
- เอกสารการสอนชุดวิชา การออกแบบทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ หน่วยที่ 1-7 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- เอกสารการสอนชุดวิชา เทคโนโลยีการพิมพ์ หน่วยที่ 1-8 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
http://tpqi-net.tpqi.go.th/tpqi_sa/index.php?page=ShowUOC.php&UocId=1091&OCC=PRT
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   การปรับเนื้อหาและเทคนิคการสอนทั้งออนไลน์และปฏิบัติการ 3.2   การกำหนดโจทย์ในการฝึกปฏิบัติ 3.2   การนำเกณฑ์การวัดผลสมรรถนะวิชาชีพมาปรับใช้ในการวัดผลภาคปฏิบัติ
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 4.2   มีการตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรมโดยคณะกรรมการในสาขาวิชา
5.1   ปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอน ให้มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับวัตถุประสงค์รายวิชา   5.2   พิจารณาการนำเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์ในแต่ละด้านมาใช้ในการวัดผลการสอบทักษะ 5.3   ปรับปรุงรายวิชาทุก  1 ปี หรือตามข้อเสนอแนะ 5.4   ปรับกระบวนการสอบวัดผล เพื่อให้มีความทันสมัย และสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ 5.5  เปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้มีแนวทางการสอน หรือ สอบ ที่สามารถประยุกต์ใช้ได้กับรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง