หลักการตลาด

Principles of Marketing

เข้าใจบทบาทของการตลาดที่มีต่อระบบเศรษฐกิจและสังคม รู้องค์ประกอบของโครงสร้างระบบการตลาด และความสัมพันธ์ขององค์ประกอบเหล่านั้น รู้หลักเกณฑ์การเลือกตลาดเป้าหมาย เลือกใช้ส่วนประสมการตลาดที่เหมาะสมของผลิตภัณฑ์ที่เสนอขาย ภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ รู้รูปแบบธุรกิจใหม่ ๆ ผ่านเทคโนโลยีสื่อสารระบบเครือข่าย (On line marketing) เข้าใจการประยุกต์เทคโนโลยีสมัยใหม่ในกิจกรรมการตลาด มีจิตสำนึกในเรื่องจริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม
          เพื่อปรับปรุงกิจกรรมการสอน ตามผลการประเมินคุณภาพการสอนของนักศึกษา ปีการศึกษา 2560 และเพื่อปรับปรุงเนื้อหาประกอบการสอน ตามงานวิจัยการศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ที่มีต่อการบริหารจัดการหลักสูตร ปีการศึกษา 2560
          ศึกษาบทบาทและความสำคัญของการตลาดที่มีต่อสังคม เศรษฐกิจ พัฒนาการ ของแนวความคิดทางการตลาด กิจกรรมและหน้าที่ต่าง ๆ ทางการตลาด ระบบ ข้อมูลสารสนเทศ และการวิจัยการตลาด ลักษณะและพฤติกรรมการซื้อแต่ละ ตลาด ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดส่วนประสมทางการตลาด การวางแผน   กลยุทธ์การตลาดที่เหมาะสมสำหรับแต่ละส่วนประสม เข้าใจการประยุกต์เทคโนโลยี สมัยใหม่ในกิจกรรมการตลาด จริยธรรมการตลาด และความรับผิดชอบต่อสังคม 
Study of the role and importance of marketing to the social economic development of marketing concepts. Events and activities including the marketing information system and marketing research. Characteristics and buying behavior of each market. Factors that affect the marketing mix. Strategic Planning the right marketing mix for each to understand the application of new technologies in marketing activities. Ethical Marketing and Corporate Social Responsibility
          - 2  ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
ทุกวันพุธ เวลา 15.00-16.00 น. และวันพฤหัสบดี เวลา 13.00-14.00 น. ห้อง 1225
˜1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น
สาขาวิชา บริหารธุรกิจ
2.2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้ 
จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของ รายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ และเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน รวมถึงการจัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติ ในสภาพแวดล้อมจริง นอกจากนั้นยังใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้าน ทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง และการบรรยายในชั้นเรียน ถาม-ตอบ
สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
2.1.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม 
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการ เข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้ อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา รวมทั้งมีการจัดกิจกรรม ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม เสียสละ
 
สาขาวิชา บริหารธุรกิจ
2.1.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
™1. ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ
™2. ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜3. ประเมินจากการเข้าเรียนตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
™4. สังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่มและความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
™. ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
2.1.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
˜1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรม 
™2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร 
™3. ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
™4. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.2.1  ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
˜1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญใน เนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนา ความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
สาขาวิชา บริหารธุรกิจ
2.2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้ 
จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของ รายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ และเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน รวมถึงการจัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติ ในสภาพแวดล้อมจริง นอกจากนั้นยังใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้าน ทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง และการบรรยายในชั้นเรียน ถาม-ตอบ
 
สาขาวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
2.2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้ 
ใช้การสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ใช้ใน สภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชา ตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษา ดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนฝึกปฏิบัติงานใน สถานประกอบการ
 
 
สาขาวิชา บริหารธุรกิจ
2.2.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้
˜1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
™2. รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการน าความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ
™3. ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง หรือสถานการณ์จริง
™4. ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
˜5. ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
™6. ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
™7. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้าหน้าชั้นเรียน
 
สาขาวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
2.2.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ คือ
™1. การทดสอบย่อย
˜2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน  
˜3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ  
™4. ประเมินจากแผนธุรกิจหรือโครงการที่นำเสนอ  
™5. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน  
™6. ประเมินจากรายวิชาสหกิจศึกษา
2.3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
˜1. สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์ แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
สาขาวิชา บริหารธุรกิจ
2.3.2  กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา 
™1  จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน 
™2  กรณีศึกษาทางการจัดการ โครงงาน งานวิจัย และกำหนดให้นักศึกษาวางแผนการทำงานเป็นทีม 
˜3  การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน 
˜4  การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง 
™5  จัดให้ในรายวิชามีกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญา ความคิด การวิเคราะห์และสังเคราะห์ด้านต่างๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา
 
 
สาขาวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
2.3.2  กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา 
™1. กรณีศึกษาทางการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 
™2. การอภิปรายกลุ่ม 
™3. ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
 
สาขาวิชา บริหารธุรกิจ
2.3.3  กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา 
ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา และประเมินจาก การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และ วิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมา คำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา รวมถึงประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
 
สาขาวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
2.3.3  กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา 
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญานี้สามารถทำได้โดยการออก ข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดของการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ ความรู้ที่เรียนมา หลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกคำตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา ไม่ควรมีคำถามเกี่ยวกับนิยามต่าง ๆ  ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์ เป็นต้น
2.4  ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
2.4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
˜1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความ รับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้ง สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิง วิชาชีพได้
สาขาวิชา บริหารธุรกิจ
2.4.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
˜1. ใช้การสอนโดยสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี ของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
™2. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำ และผู้ตาม
™3. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการ อภิปรายเพื่อหาข้อสรุป
™4. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งภายใน สถาบันการศึกษาและภายนอกสถาบันการศึกษา
˜5. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน
 
สาขาวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
2.4.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงาน กับผู้อื่น ข้ามหลักสูตร หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์ โดยมี ความคาดหวังในผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ ดังนี้ 
™1. สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี 
™2. มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 
™3. สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี 
™4. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป 
™5.มีภาวะผู้นำ
 
 
สาขาวิชา บริหารธุรกิจ
2.4.3  กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
™1. การทดสอบย่อย กลางภาค และปลายภาค
™2. ประเมินจากพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
˜3. ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
˜4. สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming)
™5. ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการทำสหกิจศึกษา  
 
สาขาวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
2.4.3  กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
˜ คุณสมบัติต่าง ๆ นี้สามารถวัดร่วมกับคุณสมบัติในข้อ 5.1, 5.2, และ 5.3 ได้ในระหว่าง การทำกิจกรรรมร่วมกัน 
˜ ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน และสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรง ประเด็นของข้อมูลที่ได้
 
2.5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ
˜1. สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน
สาขาวิชา บริหารธุรกิจ
2.5.2   กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 
™1. สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร 
˜2. มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 
˜3. ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้องและให้ ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล 
™4. ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจจากข้อมูลบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข 
™5. บูรณาการการใช้คอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟท์แวร์ หรือสื่อต่าง ๆ ในทุกรายวิชาที่สามารถทำได้    
 
      สาขาวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
2.5.2   กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์และการสื่อสารนี้ อาจทำได้ในระหว่างการสอน โดยอาจให้นักศึกษาแก้ปัญหา วิเคราะห์ประสิทธิภาพของวิธีแก้ปัญหา และให้ นำเสนอแนวคิดของการแก้ปัญหา ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพต่อนักศึกษาในชั้นเรียน อาจมีการวิจารณ์ ในเชิงวิชาการระหว่างอาจารย์กับกลุ่มนักศึกษา 
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และ สถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยี สารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์    
 
        
สาขาวิชา บริหารธุรกิจ
          2.5.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
˜1. การทดสอบย่อย กลางภาค และปลายภาค
˜2. ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วย เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
™3. ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
˜4. ประเมินจากการสรุปและอภิปรายงาน/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ตัวเลข ซึ่ง ได้รับมอบหมายร่วมกัน
 
สาขาวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
          2.5.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
˜1. ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎี การเลือกใช้เครื่องมือทาง เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติ ที่เกี่ยวข้อง  
™2. ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย ถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้ เครื่องมือต่างๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่าง ๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
2.6.1 ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
˜1. สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
สาขาวิชา บริหารธุรกิจ
2.6.2   กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมือ อาชีพ (Hands-on)
™1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง หรือ   สถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
™2. จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ  บำเพ็ญประโยชน์ต่อ สังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜3. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการ วางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผลการดำเนินงาน รวมทั้งการ ปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
™4. จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียน การสอนกับการทำงาน
™5. จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคม ร่วมกับอาจารย์และ ผู้เกี่ยวข้อง
™6. จัดกิจกรรมที่ให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารใน สถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
 
สาขาวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
2.6.2   กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมือ อาชีพ (Hands-on)
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพนี้ อาจทำได้ในระหว่างการสอน โดยอาจให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง หรือ สถานการณ์เสมือนจริง และให้นำเสนอแนวทางในการปฏิบัติงานหรือการแก้ปัญหาที่เหมาะสม 
จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการจริงตามหลักบูรณาการการเรียน การสอนกับการทำงาน (Work Integrated Learning)
 
 
สาขาวิชา บริหารธุรกิจ
2.6.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
˜1. ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากการจำลอง หรือสถานการณ์จริง และ ความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
™2. พฤติกรรมที่แสดงออก ในการเข้าร่วมกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
™3. พฤติกรรมที่แสดงออกจากการเข้าฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการ ตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน
˜4. การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆ เพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
™5. นักศึกษาสามารถใช้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจใน สถานการณ์ต่างๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลขได้
 
สาขาวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
2.6.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
กลยุทธ์การประเมินในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่าง มืออาชีพนี้ อาจทำได้ดังนี้ 
˜1. ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษาจากการจำลองสถานการณ์จริง และ ความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม 
™2. ผลการประเมินจากการเข้าฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการจริงตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน (Work Integrated Learning) จากสถานประกอบการ 
™3. การนำเสนอผลงาน โครงงาน ที่ได้จากสถานการณ์จำลอง สถานการณ์เสมือนจริง หรือการฝึกประสบการณ์จากสถานประกอบการ โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆ เพื่อคิด วิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2.1.1,2.5.1.1 สอบหน่วยเรียนที่ 1 สอบหน่วยเรียนที่ 2 สอบหน่วยเรียนที่ 3 สอบหน่วยเรียนที่ 4 สอบหน่วยเรียนที่ 5 สอบหน่วยเรียนที่ 6 สอบหน่วยเรียนที่ 7 สอบหน่วยเรียนที่ 8 2 4 7 10 12 13 14 16 70%
2 2.2.1.1,2.3.1.1,2.4.1.1,2.5.1.1, 2.6.1.1 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 2.1.1.1,2.4.1.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การเข้าร่วมกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์/สาธารณประโยชน์ต่างๆ ตลอดภาคการศึกษา 10%
1 ตำราและเอกสารหลัก     
เอกสารประกอบการเรียนการสอนหลักการตลาด
2.   เอกสารและข้อมูลสำคัญ
    คณาจารย์คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี. 2547. 
        หลักการตลาด.  บริษัทธนาเพรส จำกัด, กรุงเทพมหานคร.
    ดำรงศักดิ์  ชัยสนิท และก่อเกียรติ  วิริยะกิจพัฒนา. 2543. 
        หลักและวิธีการวิจัยตลาดเบื้องต้น. สำนักพิมพ์วังอักษร, กรุงเทพมหานคร.
    ธนวรรณ  แสงสุวรรณ และคณะ. 2547.  การจัดการการตลาด. บริษัท เอช.เอ็น. กรุ๊ป จำกัด,
        กรุงเทพมหานคร.
    ธีรกิติ  นวรัตน ณ อยุธยา. 2547.  การตลาดสำหรับการบริการ : แนวคิดและกลยุทธ์.
        สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
    ประไพศรี  อินทรองพล และไพโรจน์  ทิพมาตร์. 2543.  หลักการตลาด.
        โรงพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ, กรุงเทพมหานคร.
    วารุณี  ตันติวงศ์วานิช และคณะ. 2545.  หลักการตลาด. บริษัท เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น
        อินโดไชน่า จำกัด, กรุงเทพมหานคร.
    ศิริวรรณ  เสรีรัตน์ และคณะ. 2543.  หลักการตลาด. บริษัทธีระฟิล์ม และไซเท็กซ์ จำกัด,
        กรุงเทพมหานคร.
    อรชร  มณีสงฆ์. 2546.  การตลาดทางตรง.  บริษัทนพบุรีการพิมพ์ จำกัด, กรุงเทพมหานคร.
3.   เอกสารและข้อมูลแนะนำ
          ไม่มี
 
1 กลยุทธ์การประเมินประสิทธิภาพผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสะท้อนความคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2 กลยุทธ์การประเมินการสอน
ผลการสอบ การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบประเมินผู้สอน
3 การปรับปรุงการสอน
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบประเมินผู้สอน พบว่า มีระดับคะแนนด้านกิจกรรมการสอนน้อย จึงปรับปรุงการสอนในเรื่องการอภิปรายผลงานมากขึ้น ให้นักศึกษามีการแข่งขันกันตอบคำถาม รวมทั้งการลงมือปฏิบัติจริงเพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ได้อย่างเต็มที่
4 กระบวนการสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา
    ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
การทวนสอบการให้คะแนน จากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5 การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
   จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์ท่านอื่นๆ