เคมีสำหรับวิศวกร

Chemistry for Engineers

1. เข้าใจพื้นฐานของทฤษฎีอะตอม โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของอะตอม และ สมบัติธาตุตามตารางพีริออดิก
2. เข้าใจหลักของปริมาณสารสัมพันธ์ การเกิดพันธะเคมี  สมบัติของก๊าซ ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย  
3. เข้าใจหลักการของสมดุลเคมี สมดุลไอออนในน้ำ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี  4. นำความรู้ทางเคมีไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
1. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฏีทางเคมีพื้นฐานเพิ่มขึ้น
2. นักศึกษานำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
3. เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานทางทฤษฎีอะตอม โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของอะตอม สมบัติตามตารางธาตุพีริออดิก ธาตุเรฟพรีเซนเททิฟ อโลหะ และธาตุแทรนซิชัน การเกิดพันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ สมบัติของก๊าซ ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย จลนศาสตร์เคมี สมดุลเคมี และสมดุลไอออนในน้ำ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 11 ชั่วโมงต่อสัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
 
-  ตระหนักในคุณธรรม จริยธรรมและความซื่อสัตย์สุจริต -  มีวินัย เคารพกฎระเบียบและกติกาต่างๆที่ดีงามของสังคม  -  มีภาวะความเป็นผู้นำผู้ตาม สามารถทำงานเป็นกลุ่ม
 
 
-  สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมระหว่างสอน  
-  กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆเพื่อให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม  
-  มอบหมายงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
ไม่มีการทุจริตในการทดสอบ  
 สังเกต บันทึกพฤติกรรมการเรียน การแต่งกายและตรงเวลา
 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้และเข้าใจเดี่ยวกับหลักการและทฤษฏีที่สำคัญตามลักษณะรายวิชาเคมีสำหรับวิศวกร และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการอยู่เสมอ
บรรยาย อภิปราย การทำงานเป็นกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ประเมินผลจากการสอบด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฏี
-  ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
-  ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระเบียบ มีการวิเคราะห์ สามารถนำความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญทางเคมีมาใช้แก้ปัญหาโดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
มอบหมายงานให้ค้นคว้าและนำเสนอ
-  การอภิปรายกลุ่ม
-  มีการชี้ประเด็นและยกตัวอย่างประกอบในแต่ละหัวข้อ
-  มีแบบฝึกหัดให้นักศึกษาแก้ปัญหาในรูปแบบต่างๆ
ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมายและการนำเสนอ  
-  ประเมินผลจากการตอบคำถาม การสอบ การวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ  
-  สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
พัฒนาในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้สอน  
-   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานกลุ่ม
-  พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
 -  มอบหมายงานกลุ่ม และรายบุคคล
-  การนำเสนอรายงานและอภิปรายกลุ่ม
ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมทำงานเป็นทีม
-  ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
- ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
-  พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทำรายงานและนำเสนอในชั้นเรียนใช้รูปแบบเครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
-  พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
-  มีการอภิปรายเชิงทฤษฎีแล้วแสดงวิธีคำนวณที่สอดคล้องกับทฤษฎีเหล่านั้น  
-  มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสืบค้น  
-  การนำเสนอโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
-  เสนอจากเทคนิคการนำเสนอ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติ  
-  ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.1, 2.3, 3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 , 17 38% 32%
2 1.3, 1.4, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภากการศึกษา 30%
อุดม ศรีโยธา, เคมีทั่วไป เล่ม 1, พิมพ์ครั้งที่ 1, สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ, 2512.ทบวงมหาวิทยาลัย เคมี เล่ม 1-2, สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ, 2540. 5.รองศาสตราจารย์ ดร. พินิต รตะนานุกูล และคณะ , โครงการตำราวิทยาศาตร์และคณิตศาสตร์มูลนิธิ สอวน.:เคมี 3, พิมพ์ครั้งที่ 3, บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด , กรุงเทพฯ, 2553
ตารางธาตุ ตารางโลหะ แบบจำลองอะตอม  P. W. Atkins, Physical Chemistry, 5th ed., Oxford University Press, Oxford, 1994.   http://www.sciencedirect.com
โครงการตำราและเอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมี, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2538.  ประภาณี เกษมศรี ณ อยุธยา, เคมีทั่วไปเล่ม 1, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 5, โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535.  http://www.ipst.ac.th/chemistry/home.html  http://chemistry.about.com/od/branchesofchemistry/Chemistry_Disciplines.htm
ใช้การประเมินตามแบบประเมิน 1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน และสังเกตการณจากพฤติกรรมของผู้เรียน 2. การประเมินผลการสอนของอาจารย์ 3. การประเมินตามแบบประเมินความพึงพอใจ
1. การประเมินผลจากการตรวจใบงาน แบบฝึกหัด 2. การสังเกตพฤติกรรม และการมีส่วนร่วม 3. การทดสอบลางภาค 4. การทดสอบปลายภาค
1. การปรับปรุงแบบเมินผลจากการตรวจใบงาน แบบฝึกหัด 2. การจัดกิจกรรมการศึกษาระหว่างการเรียนการสอน 3. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา เช่น ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย เป็นต้น
1. ปรับปรุงรายวิชาทุก ๓ ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง