การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

Educational Measurement and Assessment

1. เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและเทคนิคการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 2. เพื่อให้สามารถวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ได้ 3. เพื่อให้สามารถออกแบบและพัฒนาเครื่องมือการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ได้ 4. เพื่อให้สามารถนำผลการวัดและประเมินการเรียนรู้ไปปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และหลักสูตรได้ 5. เพื่อให้มีความตระหนักในจรรยาบรรณของนักวัดและประเมินผลการศึกษา
พัฒนาสื่อการเรียนการสอน
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการ แนวคิดและแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน จุดประสงค์การเรียนรู้ การสร้างและการใช้เครื่องมือวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ คุณสมบัติของเครื่องมือวัดผล การวิเคราะห์คุณภาพเครื่องมือวัดผล การประเมินผลการเรียนการสอน การประเมินตามสภาพจริง นำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนและการประเมินโครงการ
อาจารย์ประจำรายวิชาให้นักศึกษาติดต่อโดยตรงและติดต่อสื่อสารผ่านทางสื่ออิเลคทรอนิกส์ อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการและความเหมาะสม

 
ปฏิบัติตนตามหลกั คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาด้านคุณธรรม จริยธรรมและวิชาชีพโดยคำนึงถึง สิทธิมนุษยชน ค่านิยม พื้นฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพ ความรับผิดชอบและซื่อสัตย์สุจริตต่อหน้าที่ ทั้งในด้านวิชาการ วิชาชีพ ชุมชน และสงัคม เป็นแบบอยางที่ดีต่อผู้อื่นทั้งในด้านการดำรงตนและการปฏิบัติงาน
บรรยาย ตั้งคำถาม อภิปรายกลุ่ม วิเคราะห์งานวัดและประเมินผลทางการศึกษาเกี่ยวกับประเด็นจริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเเรียนและการทำกิจกรรม ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา ประเมินผลการอภิปรายกลุ่ม การปฏิบัติงานวัดและประเมินผลทางการเรียนรู้ ประเมินจากการอ้างอิงอย่างเหมาะสมและถูกต้องของรายงาน ประเมินร่วมกันระหว่างผู้สอนและการประเมินตนเองของผู้เรียน
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและเทคนิคการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สามารถวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ได้ สามารถออกแบบและพัฒนาเครื่องมือการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ได้ สามารถนำผลการวัดและประเมินการเรียนรู้ไปปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และหลักสูตรได้
บรรยายร่วมกับอภิปราย ตั้งคำถาม การทำกิจกรรมกลุ่ม วิเคราะห์งานวดั และประเมินผลทางการ
เรียนรู้ การมอบหมายงาน
        ทดสอบย่อย
           ทดสอบกลางภาคและปลายภาค
            การตอบคำถาม
            รายงาน
           การนำเสนองาน/นำเสนอผลการอภิปราย ผลการวิเคราะห์ และการทำกิจกรรม
ตระหนักรู้ในศักยภาพของตน เพื่อพัฒนาตนเองให้มีความสามารถที่นำไปสู่การแสวงหา ความรู้ที่มีประสิทธิภาพ สามารถสืบค้นทำความเข้าใจ วิเคราะห์ และประเมินข้อมูล แนวคิด และหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และนำขอ้มูลที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจอันถ่องแท้ในเนื้อหาสาระทางวิชาการ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่มี คุณภาพในการทา งาน สามารถพัฒนาวิธีการแก้ไขปัญหาที่มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับสถานการณ์และบริบททางสังคมที่เปลี่ยนไป โดยคำนึงถึงความรู้และผลกระทบจากการตัดสินใจ
บรรยายร่วมกับอภิปราย ตั้งคำถาม การกิจกรรมกลุ่ม วิเคราะห์งานวัด และประเมินผลทางการ
เรียนรู้ การมอบหมายงาน
การตอบคำถาม
รายงาน
การนำ เสนองาน/นำเสนอผลการทำกิจกรรม การอภิปรายและผลการวิเคราะห์
มีปฏิสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์กับบุคคลที่เกี่ยวข้อง สามารถทำงานเป็นทีมในบทบาทผู้นำ และสมาชิกกลุ่มในบริบทหรือสถานการณ์ที่แตกต่างกัน สามารถแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดี ในสถานการณ์ที่หลากหลายและสถานการณ์เฉพาะหน้า มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ต่อสังคม และรับผิดชอบในการพัฒนาตนเององค์การและสังคม

อย่างต่อเนื่อง
    บรรยายร่วมกับอภิปราย การทำงานกลุ่ม  ตั้งคำถาม  มอบหมายงาน การนำเสนอผลงาน 
การตอบคำถาม
รายงาน
การนำเสนองาน/นำเสนอผลการทำกิจกรรม อภิปรายและผลการวิเคราะห์
สามารถสื่อสารทั้งการฟัง พดู เขียน ทำรายงานและนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการิเคราะห์ แปลความหมาย และนำเสนอข้อมูล สารสนเทศเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สามารถสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเพื่อทำรายงาน เตรียมและนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีที่ เหมาะสม
บรรยาย การทำกิจกรรมกลุ่ม มอบหมายงาน
รายงาน
การนำเสนองาน/นำเสนอผลการทำกิจกรรม อภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 มีจรรยาบรรณ 2 มีคุณธรรมจริยธรรม 3 มีจิตอาสาและสาธารณะ 4 มีภาวะผู้นำ 5 มีความรอบรู้ ุุ6 ใฝ่รู้และรู้วิธีการเรียนรู้ 7 มีความคิดสร้างสรรค์ 8 วิเคราะห์งานเป็นระบบ 9 มีทักษะด้านสารสนเทศ 10 มีทักษะการสื่อสาร
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 TEDCC812 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-4.2 สอบกลางภาค 9 25%
2 3.1-3.4 การทดสอบย่อย 15 15%
3 5.1-8.2 สอบปลายภาค 17 25%
4 1.3-6.7 6.6-6.7 8 การมีส่วนร่วมอภิปราย/การตอบคำถาม การวิเคราะห์และการนำเสนอ การทำรายงาน/งานกลุ่มและผลงาน และการ นำเสนอ ตลอดภาคการศึกษา 25%
5 1.1–8.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
อรอนงค์ นิยมธรรม. (2562). การวัดและประเมินผลการเรียนรู้. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก.
ชวาล แพรัตกลุ. (2552). เทคนิคการวัดผล. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ชวลิต ชูกาแพง. (2550). การประเมินการเรียนรู้. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พิชิต  ฤทธิ์จรูญ. (2545). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เฮ้าส์ ออฟ เคอร์มีสท์.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2545). การวัดและประเมินผลกลุ่มวิชาเฉพาะ หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 3 นนทบุรี: มสธ.
________. (2545). การวัดและประเมินผลกลุ่มวิชาเฉพาะ หน่วยที่ 9-15. พิมพ์ครั้งที่ 3 นนทบุรี: มสธ.
________. (2548). ประสบการณ์วิชาชีพการวัดและประเมินผลการศึกษา. หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 4 นนทบุรี: มสธ.
________. (2548). ประสบการณ์วิชาชีพการวัดและประเมินผลการศึกษา. หน่วยที่ 9-15. พิมพ์ค์รังที่ 4 นนทบุรี: มสธ.
ราตรี นันทสุคนธ์. (2553). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา (ฉบับปรับปรุง). สุราษฎร์ธานี: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
วิรัช วรรณรัตน์. (2539). การวัดและประเมินผลการศึกษา. สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ทิวัตถ์ มณีโชติ. (2549). การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
ภัทรา นิคมานนท์. (2540). การประเมินผลการเรียน. กรุงเทพฯ: อักษราพิพัฒน์จํากัด.
สมศักดิ์ ภูวิภาดาวรรธนะ. (2544). การยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและการประเมินตามสภาพจริง. เชียงใหม่: The Knowledge Center.
ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์. (2558) . การแปลความหมายคะแนน. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 62. จาก www.watpon.com.
พวงแก้ว ปุณยกนก. (2546). “การประเมินพุทธิพิสัย” ใน รวมบทความการประเมินผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไพฑูรย์ โพธิสาร. (มปป). “ระดับคะแนน” ในการวัดผลและประเมินผลการศึกษาสารานุกรมศึกษาศาสตร์. กรุงเทพฯ: ก๊อปปี้ แอนด์ พริ้นท์.
ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง. (2546). “การประเมินจิตพิสัย” ในการประเมินผลการเรียนรู้แนวใหม่. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เยาวดี วิบูลย์ศรี. (2549). การวัดผลและการสร้างแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงการณ์มหาวิทยาลัย.
ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ. (2539). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก.
สมชาย วรกิจเกษมสกุล. (2556). การวัดและประเมินผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. อุดรธานี: โรงพิมพ์อักษรณ์ศิลป์.
สมนึก ภัททิยธนี. (2545). การวัดผลการศึกษา. กาฬสินธุ์: ประสานการพิมพ์.
สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. (2535). “ความรู้พื้นฐานสําหรับการประเมินโครงการทางการศึกษา” ในรวม บทความทางการประเมินโครงการ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2546). การประเมินผลการเรียนรู้แนวใหม่. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุนทร คําโตนด. (2531). การสร้างแบบทดสอบ. อุดรธานี: คณะวิชาครุศาสตร์ วิทยาลัยครูอุดรธานี.
สุนันท์ ศลโกสุม. (มปป). การทดสอบภาคปฏิบัติ ในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา สารานุกรม ศึกษาศาสตร์ อันดับที่ 3. กรุงเทพฯ :ก๊อปปี้ แอนด์ พริ้นท์.
เอมอร จังศิริพรปกรณ์ .(2546). “การประเมินผลการเรียนรู้” ในการประเมินผลการเรียนรู้แนวใหม่ กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์.
อเนก เพียรอนุกุลบุตร. (2527). การวัดและประเมินผลทางพลศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.
อำนวย เลิศชยันตี. (2542). การประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศิลป์สนองการพิมพ์.
B.S. & Others. (1956). Taxonomy of Ecucational Objectives, Handbook : Cognitive Domian. New York : Mckay.
Bloom, Benjamin. S . (1979). Taxonomy of Educational Objectives: The Classification of Goals, Handbook Cognitive Domain. Longman Inc.
Cohen, Ronald Jay. (2010). Psychological Testing and Assessment An Introduction to Tests & Measurement. 7th ed. New York: McGraw–Hill.
D. charles & Antes. ,C. Richard. (1990). Classroom measurement and Evaluation. IIIinois : Publishers, nc.
Ebel, R. L. & Frisbie, D. A. (1986). Essentials for Educational Measurement. New Jersey: Printice – Hall Inc.
Farr, R. &Tone, B. (1994). Portfolio and Performance Assessment. Fort Worth.TX : Harcourt Brace & Company.
Gedye, Sharon. (2009, January). Formative assessment and feedback a review. Planet Issue. 23(1): 40 – 44.

F & John A.Upshur. (1996). “Portfolio and Conference. “Classroom- Base Evaluation in Secound Language Education. NewYork : Cambridge University Press.

Gipps, Caroline V. (2012). Beyond testing : towards a theory of educational assessment. New York: Routledge.
Gronlund, N. E. (1985). Measurment and Evaluation in Teaching. 5th ed. New York : McMillan Publishing Co.,Inc.

N. E. & Linn, R. L. (1990). Measurement and Evaluation in Teaching. 6th Ed. York : Macmillan Publishing Company.

Herrera, Socorro G.; Murry, Kevin G. & Cabral, Robin M. (2007). Assessment Accommodations for Classroom Teachers of Culturally and Linguistically Diverse Students. Boston: Pearson Education Ltd.
Hopkins, Charles D.; & Antes, Richard L. (1990). Classroom measurement and . 3rd ed. Itasca: Peacock.
Hou, Likun, de la Torre, Jimmy; & Nandakumar, Ratna. (2014, March–June). The Random Effect DINA model. Journal of Educational Measurement. 51(1): 75 – 97.
Lin, Robert L. (1995). Measurement and Assessment in Teaching. 7th ed. NJ: Pearson Education Ltd.
Marshall, J.C. & Hales, L.W. (1972). Essential of Testing. London: Addition-Wesley Pulishing.
Miller, M. David; Linn, Robert L. & Gronlund, Norman E. (2009). Measurement and Assessment in Teaching. 10th ed. NJ: Pearson Education Ltd.
Nitko, Anthony J. (2004). Educational Assessment of Students. 4th ed. NJ: Pearson Education Ltd.
Nitko, A.J. (2007). Educational Assessment of Students. Englewood Cliffs, N.J : Prentice Hall, Inc.
Ronald, Reynold B.; & Wilson, Livingston Victor. (2009). Measurement and Assessment in Education. 2nd ed. New Jersey: Pearson Education.
Scannell & Tracy. (1975). Testing and Measurement in the classroom . Boston : Houghton Mifflin Co.
Stanley,J.C. & Hopkin K.D. (1972). Educational and Psychological Measurement and Evaluation. New Jersey : Hall,Inc. Hopkins.
Stanley, J .C. & Hopkin, K.D. (1972). Educational and Psychological Measurement and Evaluation. New Jersey: Hall, Inc.
 
นักศึกษาประเมินผู้สอนและประเมินรายวิชา
นักศึกษาเป็นผู้สะท้อนคิด (Reflective Journal)
การสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน
ผลงานและการนำเสนอ
ผลการทดสอบ
ปรับปรุงเนื้อหารายวิชา 
ปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน
พัฒนางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ใช้หลักการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเรียน ผลงาน และผลการทดสอบ ร่วมกับให้นักศึกษาตรวจสอบผลการเรียนรู้ของตนเองและประเมินตนเอง 
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3-5 ปี
สัมมนาผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกเพื่อหาแนวทางในการวางแผนปรับปรุงรายวิชา