การพิมพ์ออฟเซต

Offset Printing

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการพิมพ์ออฟเซต  การพิมพ์ออฟเซตใช้น้ำและการพิมพ์ออฟเซตไร้น้ำ  โครงสร้างเครื่องพิมพ์ออฟเซตชนิดต่าง ๆ ส่วนประกอบและการปรับตั้งเครื่องพิมพ์ออฟเซตป้อนแผ่นสีเดียว  น้ำยาฟาวน์เทน ผ้ายางออฟเซตและการรองหนุน ปัญหาและการแก้ไขการพิมพ์ออฟเซต  การพิมพ์งานสีเดียวและภาพฮาล์ฟโทน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับหลักการพิมพ์ออฟเซต  การพิมพ์ออฟเซตใช้น้ำและการพิมพ์ออฟเซตไร้น้ำ  โครงสร้างเครื่องพิมพ์ออฟเซตชนิดต่าง ๆ ส่วนประกอบและการปรับตั้งเครื่องพิมพ์ออฟเซตป้อนแผ่นสีเดียว  น้ำยาฟาวน์เทน ผ้ายางออฟเซตและการรองหนุน ปัญหาและการแก้ไขการพิมพ์ออฟเซต  มีทักษะในการพิมพ์งานสีเดียวและภาพฮาล์ฟโทน
  ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการพิมพ์ออฟเซต  การพิมพ์ออฟเซตใช้น้ำและการพิมพ์ออฟเซตไร้น้ำ  โครงสร้างเครื่องพิมพ์ออฟเซตชนิดต่าง ๆ ส่วนประกอบและการปรับตั้งเครื่องพิมพ์ออฟเซตป้อนแผ่นสีเดียว  น้ำยาฟาวน์เทน ผ้ายางออฟเซตและการรองหนุน ปัญหาและการแก้ไขการพิมพ์ออฟเซต  การพิมพ์งานสีเดียวและภาพฮาล์ฟโทน
  - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความซื้อสัตย์สุจริต ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ เคารพ กฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ของสังคมและองค์กร มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของส่วนบุคคล ดังนี้
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและ
ลำดับความสำคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็น
มนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้หลักการและการทักษะปฏิบัติงานพิมพ์ ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
11.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
วิธีการสอน

1.2.1 บรรยายทฤษฎี และ หลักการและส่วนที่เกี่ยวข้อง พร้อมยกตัวอย่างวิธีการเพื่อใช้ในการปฏิบัตงานพิมพ์ระบบออฟเซท
1.2.2 แบ่งกลุ่มสำหรับฝึกทักษะปฏิบัติเกี่ยวกับการพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ระบบออฟเซทตามหลักการกระบวนการที่ถูกต้อง
1.2.3 อภิปรายกลุ่มวิเคราะห์นำเสนอผลงาน
วิธีการประเมินผล
1.3.1 สังเกตพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงตามที่กำหนดและครบถูกต้อง
1.3.2 สามารถวิเคราะห์ตามเนื้อหาที่มอบหมายให้ถูกต้อง
1.3.3 สามารถอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
1. มีความรู้ในหลักการพิมพ์ออฟเซต พัฒนาการของการพิมพ์ออฟเซต
2. รู้จักโครงสร้างเครื่องพิมพ์ออฟเซตชนิดต่าง ๆ ส่วนประกอบและการปรับตั้งเครื่องพิมพ์ออฟเซต
3. มีความรู้   เข้าใจในการแก้ไขการพิมพ์ออฟเซต  การพิมพ์งานสีเดียวและภาพฮาล์ฟโทน
4. สามารถการพิมพ์งานสีเดียวและภาพฮาล์ฟโทน
1. ใช้การบรรยาย โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ
2.  มอบหมายให้ทำรายงาน
3.  จัดกิจกรรมการเรียนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
 
1. พัฒนาความคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ 
2.  สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้เป็นอย่างดี
3.  สามารถพัฒนาการคิดอย่างสร้างสรรค์ 
  1.  การมอบหมายงานที่ส่งเสริมความคิดให้นักศึกษา 
  2.  ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ไขปัญหา
  3.  ให้นักศึกษาปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง
1.   สอบกลางภาคและปลายภาค 
2.   วัดผลจากการประเมินในการนำเสนอผลงาน
3.   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
1.   มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
2.   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตาม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.   มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ด้วยตัวเอง และวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1.   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
3.   การนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมาย
1.   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2.  ประเมินจากผลงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
3.  ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
1.   สามารถใช้ภาษาพูดและภาษาเขียนในการสื่อความหมายได้ถูกต้อง 
2   สามารถสรุปประเด็นจากการสื่อสารได้ถูกต้อง
3   สามารถการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารที่เหมาะสม
4   สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตได้อย่างเหมาะสม
5   สามารถติดตามข้อมูลข่าวสาร ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1.   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่างๆในเว็บไซต์
2.   นำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและมีศักยภาพ
1.   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
2.   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย
6.1.1 พัฒนาความรู้ความสามารถในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและการออกแบบได้เป็นอย่าง กลมกลืน
6.1.2 พัฒนาให้มีความคิดสร้างสรรค์อย่างต่อเนื่อง เพื่อสังคมเป็นสุข
6.2.1 นำเสนอผ่านตัวอย่างงานจริงโดยใช้หลักด้านการวิเคราะห์และเรียบเรียงข้อมูลมาประกอบ
6.2.2 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองในหัวข้อศึกษาที่ได้รับมอบหมายและเป็นประโยชน์ต่อสังคมโดยภาพรวม
6.3.1 ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงความคิดรวบยอดของการทำรายงาน
6.3.2 ประเมินจากระยะเวลาในการปฏิบัติผลงาน
6.3.3 ประเมินจากผลงานที่มีคุณภาพ ตรงตามหัวข้อที่ศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคล 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสารฯ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BTEPP129 การพิมพ์ออฟเซต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ภาคทฤษฎี สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 18 20% 20%
2 จากการปฏิบัตงาน วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 ความสนใจและการให้ความร่วมมือ ความสม่ำเสมอในการเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นร่วมกับเพื่อนๆและผู้สอน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
เอกสารการสอนรายวิชา กระบวนการพิมพ์พื้นนูนพื้นราบ มสธ.
2. เทคโนโลยีการพิมพ์ออฟเซท โดยสมาคมส่งเสริมวิชาการพิมพ์ ( ดร.วิชัย  พยัคฆโส)
3. เทคโนโลยีการพิมพ์ (รองศาสตราจารย์ ดร.อรัญ  หาญสืบสาย)
4. Handbook of Print Media (Heidelberg)
 
 
.
-วารสารในวงการพิมพ์ 
-วารสารสมาคมส่งเสริมวิชาการพิมพ์ 
-วารสารการพิมพ์ไทย
- http://www.thaiprint.org/thaiprint/index.php
- http://www.ssru.ac.th/teacher/printingonline/mod/resource/view.php?id=443
- http://bangkokprint.com/?p=848
- http://printing99.blogspot.com/2010/11/blog-post_29.html
 
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
จากผลการประเมินการสอน มีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ
4.2   มีการตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรมโดยคณะกรรมการในสาขาวิชา 
มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะ
5.2   เปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์