ปฏิบัติการฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร

Physics Laboratory 1 for Engineers

1.1 สามารถใช้อุปกรณ์พื้นฐานทางฟิสิกส์ได้
1.2 นำความรู้จากรายวิชาฟิสิกส์มาปฏิบัติทดลอง
1.3 สามารถคิดวิเคราะห์และสรุปข้อมูลอย่างมีเหตุผล
1.4 พัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง โดยให้รู้จักหาข้อมูลด้วยการปฏิบัติการทดลอง
1.5 มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์
- เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 
- เพื่อให้นักศึกษาได้นำความรู้ ความเข้าใจ ในรายวิชาปฏิบัติการฟิสิกส์เบื้องต้น ไปเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลง ตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ปฎิบัติการทดลองเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์ โมเมนตัมและพลังงาน กลศาสตร์ของไหล ความร้อน คลื่นและคลื่นเสียง ไฟฟ้า-แม่เหล็ก แสง ฟิสิกส์และเทคโนโลยี
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม และจริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 แนะนำในห้องเรียน
1.2.2 กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
1.2.3 กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
1.3.1 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
1.3.2 ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
1.3.3 ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยาย  ครอบคลุม เนื้อหาตามคำอธิบายรายวิชา และมอบหมายให้ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมหรือศึกษาด้วยตนเอง
2.2.2 อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง โดยระดมความคิดของนักศึกษาในชั้นเรียนแบ่งกลุ่มค้นคว้าข้อมูลและรายงาน
2.3.1 จากการสอบและงานที่มอบหมาย
2.3.2 สอบข้อเขียน
2.3.3 ข้อเสนอความคิดของนักศึกษาและนำเสนอในชั้นเรียน
2.3.4 งานที่มอบหมาย และนำเสนอเป็นกลุ่ม
3.1.1  พัฒนาความสามารถในการคิดให้มีการคิดที่เป็นระบบอย่างถูกต้อง รู้จักการจัดการข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการแปรผลให้ถูกต้อง
3.2.1 แบ่งกลุ่มปฏิบัติการ และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา ของปฏิบัติการต่างๆอย่างเป็นระบบ
3.2.2 ทำการจัดเก็บข้อมูลให้ถูกต้องอย่างเป็นระบบ
3.2.3 ทำการวิเคราะห์ข้อมูล/คำนวณ (ถ้ามี )
3.2.4 ทำการสรุปผลการทดลองและเขียนรายงาน
3.2.5 ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียน และแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาพร้อมทั้งค้นคว้าเพิ่มเติม
ประเมินผลจากรายงานผลการทดลอง และการตอบปัญหาในชั้นเรียน
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้สอน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานกลุ่ม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการทำบทปฏิบัติการ
4.2.2 มอบหมายงานกลุ่ม และรายบุคคล
4.2.3 การนำเสนอรายงานและอภิปรายกลุ่ม
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ 
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข/จัดเก็บข้อมูลการทดลองอย่างเป็นระบบ
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียนใช้รูปแบบ  เครื่องมือ  และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
 5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.2.1 มีการอธิบายวิธีการปฏิบัติการทดลอง และ/หรือ การคำนวณที่สอดคล้องกับทฤษฎี
5.2.2 มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสืบค้น
5.2.3 การนำเสนอโดยใช้รูปแบบ  เครื่องมือ  และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอ โดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติ
5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 1 2 1 2 3 1 2 3
1 FUNSC102 ปฏิบัติการฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 - ความรู้ สอบปลายภาค ตามความเหมาะสม 20%
2 -ทักษะทางปัญญา -ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล -ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี รายงานผลการปฏิบัติการทดลอง สอบปฏิบัติการทดลองการใช้เครื่องมือวัดรายงานการทดลองรายบุคคล ตลอดภาคการศึกษา 70%
3 -คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
สาขาวิชาฟิสิกส์. 2553. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 22051103 ปฏิบัติการฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร  (Physics 1 for Engineers Laboratory)  สาขาวิชาฟิสิกส์ แผนกวิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา  ภาคพายัพ เชียงใหม่
คู่มือปฏิบัติการฟิสิกส์พื้นฐาน 1 ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
คู่มือปฏิบัติการฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
คู่มือปฏิบัติการฟิสิกส์พื้นฐาน 2 ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
คู่มือปฏิบัติการฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ไม่มี
ฟิสิกส์ราชมงคล : http://www.electron.rmutphysics.com/physics/charud/scibook/electronic-physics1/content.html
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 แบบประเมินผู้สอน
1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน โดยมีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ติตตามงานที่มอบหมาย
2.3 การขอรับคำปรึกษาและสังเกตการณ์ของผู้สอน
3.1 ปรับปรุงการเรียนการสอน จากผลการประเมินของนักศึกษา
3.2 การจัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
3.3 รวบรวมปัญหาการเรียนของนักศึกษาและแนวทางแก้ไข โดยทำการสำรวจเบื้องต้นจากผลการประเมินการเรียนรู้ เพื่อนำไปสู่การทำวิจัยในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพ
4.1 มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง
4.2 ให้นักศึกษามีโอกาสตรวจสอบคะแนนก่อนส่งเกรด
4.3 การพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาเดียวกันของแต่ละกลุ่มกับผลการประเมินพฤติกรรม
5.1 นำผลที่ได้จากการประเมินของนักศึกษา คะแนนสอบ นำมาสรุปผลและพัฒนารายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองพัฒนาความคิดที่หลากหลาย