การบัญชีการเงิน

Financial Accounting

1.1 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับ แนวคิด หลักการความสำคัญของการบัญชีต่อประเภทธุรกิจ หลักการเบื้องต้นของการบัญชีทั่วไป วงจรบัญชี รายงานทางการเงินสำหรับกิจการให้บริการ กิจการซื้อขายสินค้า และกิจการอุตสาหกรรม การบัญชีเบื้องต้นเกี่ยวกับเงินสด ลูกหนี้ ตั๋วเงินรับ สินค้าคงเหลือ เงินลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน หนี้สินและส่วนของเจ้าของ
        1.2 เพื่อให้สามารถปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นของการบัญชีสำหรับกิจการให้บริการ และการจัดทำรายงานทางการเงินกิจการซื้อขายสินค้า และกิจการอุตสาหกรรม รวมทั้งปฏิบัติการบัญชีเบื้องต้นเกี่ยวกับเงินสด ลูกหนี้ ตั๋วเงินรับ สินค้าคงเหลือ เงินลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน หนี้สินและส่วนของเจ้าของ
          1.3 เพื่อให้นักศึกษาทำการศึกษาค้นคว้า การนำข้อมูลด้านการบัญชีมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม
2.1 เพื่อพัฒนาความรู้ของนักศึกษาเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นของการบัญชี
          2.2 เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีผลการเรียนรู้ที่คาดหวังให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
ศึกษาและปฏิบัติ เกี่ยวกับความสำคัญของการบัญชีต่อประเภทของธุรกิจ หลักการเบื้องต้นของการบัญชีทั่วไป และวงจรบัญชี ตลอดจนจัดทำรายงานทางการเงินสำหรับกิจการให้บริการ กิจการซื้อขายสินค้า และกิจการอุตสาหกรรม การบันทึกบัญชีเบื้องต้นเกี่ยวกับเงินสด ลูกหนี้ ตั๋วเงินรับ สินค้าคงเหลือ เงินลงทุน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน หนี้สินและส่วนของเจ้าของ
สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย
ให้นักศึกษาตระหนักและมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองและผลงานของกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย ดังนี้
                ๑) สามารถปฏิบัติตามข้อตกลงการเรียนในห้องเรียนได้
               ๒) สามารถทำงานกลุ่มที่มอบหมายภายในเวลาที่กำหนด
                ๓) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
กำหนดข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนและระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับนักศึกษา เช่น การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการกำหนดข้อตกลงการเรียนในห้องเรียน การทำงานที่ได้รับมอบหมายเป็นกลุ่ม
๑) ติดตามการปฏิบัติตามข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียน ตลอดภาคการศึกษา
                   ๒) ผู้สอนประเมินผลการนำเสนอผลการนำเสนอผลงานที่ และนักศึกษาทุกคนมีส่วนในการประเมินผลการนำเสนอผลงาน
๑) ความรู้เกี่ยวกับ แนวคิด หลักการความสำคัญของการบัญชีต่อประเภทธุรกิจ หลักการเบื้องต้นของการบัญชีทั่วไป วงจรบัญชี รายงานทางการเงินสำหรับกิจการให้บริการ กิจการซื้อขายสินค้า และกิจการอุตสาหกรรม การบัญชีเบื้องต้นเกี่ยวกับเงินสด ลูกหนี้ ตั๋วเงินรับ สินค้าคงเหลือ เงินลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน หนี้สินและส่วนของเจ้าของ
               ๒) ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบัญชีเพื่อนำไปสู่การบริหารจัดการองค์การได้
               ๓) มีความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นของการบัญชีสำหรับกิจการให้บริการ และการจัดทำรายงานทางการเงินกิจการซื้อขายสินค้า และกิจการอุตสาหกรรม รวมทั้งปฏิบัติการบัญชีเบื้องต้นเกี่ยวกับเงินสด ลูกหนี้ ตั๋วเงินรับ สินค้าคงเหลือ เงินลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน หนี้สินและส่วนของเจ้าของ
                ๔) มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ และบัญชี รวมทั้งมีความเข้าใจสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงของประเทศและสังคมโลก
๑) การบรรยาย ยกตัวอย่าง และการถาม-ตอบในชั้นเรียน ใช้วิธีการสอนที่เน้นทักษะกระบวนการคิด (Thinking Based Learning) การสอนที่เน้นกระบวนการคิดคำนวณ เริ่มจากผู้สอนทบทวนเนื้อหาเดิม โดยแสดงวิธีการคิดคำนวณเป็นลำดับขั้น จากนั้นกำหนดโจทย์ให้ผู้เรียนฝึกคิด วิเคราะห์ เป็นลำดับขั้น เน้นการฝึกคานวณซ้ำกับโจทย์ใหม่ และสุดท้ายผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปขั้นตอนการคิด การประเมินผลการเรียนรู้ประเมินจากขั้นตอนกระบวนการคิดเป็นลำดับขั้นที่นักศึกษาแสดงไว้ในการแก้โจทย์คำนวณ
               ๒) การฝึกหัดแก้ไขโจทย์ปัญหา
                ๓) การปฏิบัติลงพื้นที่จริง
๑) การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค
                ๒) ประเมินผลจากการทำรายงานและนำเสนอ
               ๓) ประเมินผลจากการทำแบบฝึก
                ๔) ประเมินจากการนำข้อมูลจากการลงพื้นที่มาปฏิบัติจริง
๑) สามารถสืบค้นข้อมูลประมวลผลข้อมูลและแนวคิดต่างๆ จากเวปไซด์ อ่านและอธิบายการนำข้อมูลด้านการบัญชีมาวิเคราะห์ได้
                ๒) มีความคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ และมีเหตุผล คิดอย่างสร้างสรรค์ สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษาและประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาของการนำข้อมูลทางการบัญชีไปใช้ในธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไปได้อย่างเหมาะสม
        ๓) สามารถจัดทำรายงานเกี่ยวกับธุรกิจได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน
๑) การบรรยาย ยกตัวอย่าง และการถาม-ตอบในชั้นเรียน
               ๒) เปิดโอกาสให้นักศึกษา ค้นคว้า นำเสนอหน้าชั้นเรียน
                 ๓) มอบหมายแบบฝึกหัด
                 ๔) การปฏิบัติลงพื้นที่จริง
๑) แบบฝึกหัด
               ๒) การสอบกลางภาค
               ๓) การสอบปลายภาค
                   ๔) คุณภาพการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
๑) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด
               ๒) สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นในกลุ่มได้
                ๓) สามารถทำตามบทบาทที่ได้รับมอบหมายได้
                ๔) มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองได้
๑) ทำงานกลุ่ม โดยกำหนดหัวข้อให้
                   ๒) ให้นักศึกษาจัดทำสื่อประกอบรายงาน และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
๑) สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
               ๒) ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน
                   ๓) คุณภาพการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
        สามารถวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านบัญชี และเสนอแนะแนวทางแก้ปัญหาได้
มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์
ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 2 3 4 5
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1
1 BACAC111 การบัญชีการเงิน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค 25% สอบปลายภาค 25% 9 และ 17 25% และ 25%
2 การมอบหมายงาน และการส่งงานตามที่มอบหมาย ทุกสัปดาห์ 40%
3 พฤติกรรมระหว่างเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
ผศ. ดร. ปัญจพร ศรีชนาพันธ์. เอกสารประกอบการสอนวิชาการบัญชีการเงิน
www.tfac.or.th
www.rd.go.th
แบบประเมินผู้สอน และการสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
ใช้แบบประเมินประสิทธิภาพการสอนของมหาวิทยาลัยเมื่อสิ้นภาคการศึกษา ระบบออนไลน์
ให้คณะกรรมการสาขาการบัญชีเป็นผู้ประเมินโดยพิจารณาจากข้อสอบและการตัดเกรด
นำผลการประเมินในข้อ 1 และข้อ 2 ประกอบการพิจารณาข้อบกพร่องของวิธีการสอน วิธีการประเมิน และเนื้อหารายวิชา