กลศาสตร์วิศวกรรม

Engineering Mechanics

เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจถึงหลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์แรงและโมเมนต์ของแรง ระบบแรงและผลลัพธ์ของระบบแรง การสมดุลและการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ แรงภายใต้ของไหลที่อยู่นิ่งแรงในชิ้นส่วนของโครงสร้าง โครงกรอบและเครื่องจักรกลคิเนแมติกส์และคิเนติกส์ของอนุภาคและวัตถุเกร็ง กฎข้อที่สองของนิวตัน งานและพลังงาน การดลและโมเมนต์ตัม
 
 
1) เพื่อให้สอดคล้องกับแผนการปรับปรุงหลักสูตรรายวิชาทุก 5 ปี
2) เพื่อให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ของนักศึกษาในยุคปัจจุบัน
3) เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะคำอธิบายรายวิชาของสภาวิศวกรที่มีการปรับเปลี่ยน และประกาศใช้ฉบับล่าสุด
ศึกษาหลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์ แรงและโมเมนตข์ ของแรง ระบบแรงและผลลัพธ์ของระบบแรง การสมดุลและการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ แรงภายใต้ไหลที่อยู่นิ่ง แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้าง โครงกรอบและเครื่องจักรกล คิเนแมติกส์และคิเนติกส์ของอนุภาคและวัตถุเกร็ง กฎข้อที่สองของนิวตัน งานและพลังงาน การดลและโมเมนต์ตัม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
 

1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1) ให้ความสำคัญในเรื่องการมีวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในระยะเวลาที่กำหนด
2) ปลูกฝังเรื่องการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่างๆ มหาวิทยาลัยฯ รวมทั้งกฎระเบียบของสังคม
1) ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาภายในห้องเรียน และการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ
2) การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
3) สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
2.1 มีความรู้แความเข้าใจในทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อประยุกต์ใช้กับงานด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้องและการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี


2.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ปัญหาในงานจริงได้
1) บรรยาย อภิปราย ยกตัวอย่างประกอบ
2) มอบหมายแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1) ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2) ประเมินจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
3.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ


3.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
จัดกิจกรรมการวิเคราะห์และแก้ปัญหากรณีศึกษาเกี่ยวกับงานทางด้านด้านกลศาสตร์ที่เป็นชิ้นงานจริง แล้วให้นักศึกษาร่วมกันอภิปราย
ประเมินจากการอภิปราย สรุปประเด็นปัญหา และกระบวนการแก้ไขปัญหา
4.4 รู้จักบทบาทน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
มอบหมายให้ศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมและทำรายงานกลุ่ม
ประเมินจากรายงาน และการนาเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมาย
5.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ 5.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
ตั้งโจทย์ปัญหาที่ต้องใช้ระเบียบวิธีการคำนวณเชิงตัวเลขในการแก้ปัญหา
ประเมินจากการหาคำตอบโดยวิธีการคำนวณ และวิธีการใช้เครื่องคำนวณหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGCC302 กลศาสตร์วิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.3, 2.5, 5.3, 5.5 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 13 17 10% 25% 10% 25%
1. Engineering Mechanics (Statics) R.C.HIBBELER
2. Engineering Mechanics (Statics) J.L. MERIAM L.G. KRAIGE
3. Engineering Mechanics (Dynamics) J.L. MERIAM L.G. KRAIGE
4. Engineering Mechanics (Dynamics) R.C.HIBBELER
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- แบบประเมินรายวิชา
 
- ผลการสอบ
- แบบประเมินผู้สอน
- การสัมมนาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน
 
ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน