การบริหารงานก่อสร้าง

Construction Management

เพื่อให้มีความเข้าใจในหลักการเกี่ยวกับอุตสาหกรรมก่อสร้าง และรูปแบบการดำเนินธุรกิจก่อสร้าง การจัดองค์การในงานก่อสร้าง กระบวนการก่อสร้าง เพื่อให้มีความเข้าใจการวางแผนงานก่อสร้าง การบริหารจัดการทรัพยากร  การควบคุมค่าใช้จ่าย การควบคุมคุณภาพงาน การจัดการความปลอดภัยในงานก่อสร้าง เพื่อให้มีความเข้าใจ การบริหารสัญญาและการจัดการระบบข้อมูลคอมพิวเตอร์กับการก่อสร้าง  เพื่อให้มีความเข้าใจการวิเคราะห์และบริหารความเสี่ยง เห็นความสำคัญของการบริหารงานก่อสร้าง มีกิจนิสัยในการทำงาน รอบคอบ การควบคุมงานและความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ เกี่ยวกับอุตสาหกรรมการก่อสร้างและรูปแบบการดำเนินธุรกิจ การจัดองค์ประกอบในงานก่อสร้าง กระบวนการก่อสร้าง การวางแผนงานก่อสร้าง การบริหารจัดการทรัพยากร การควบคุมค่าใช้จ่าย การควบคุมคุณภาพงาน การจัดการความปลอดภัยในงานก่อสร้าง การบริหารสัญญา และจัดการระบบข้อมูล คอมพิวเตอร์กับการก่อสร้าง การวิเคราะห์และบริหารความเสี่ยงและสนับสนุนบริการวิชาการ
ศึกษาเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการก่อสร้างและรูปแบบการดำเนินธุรกิจ การจัดองค์ประกอบในงานก่อสร้าง กระบวนการก่อสร้าง การวางแผนงานก่อสร้าง การบริหารจัดการทรัพยากร การควบคุมค่าใช้จ่าย การควบคุมคุณภาพงาน การจัดการความปลอดภัยในงานก่อสร้าง การบริหารสัญญา และจัดการระบบข้อมูล คอมพิวเตอร์กับการก่อสร้าง การวิเคราะห์และบริหารความเสี่ยง
1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ) 
1. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
2. มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างสอดแทรกในเนื้อหาสาระที่เกี่ยวข้องแล้วให้นักศึกษาพร้อมอภิปรายแนวปฏิบัติที่ดีและเหมาะสม
2. สอดแทรกระหว่างการเรียนการสอนในทุกครั้ง
3. วิเคราะห์แบบแสดงความคิดเห็นในเรื่องความมีวินัย ใฝ่รู้ ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ และความมีน้ำใจ  ปฏิบัติตนอันเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์ผู้สอน
 
วัดและประเมินผลการวิเคราะห์แบบทดสอบ สอบปลายภาคและปลายภาค พฤติกรรมการเข้าเรียนจากพฤติกรรมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียน และงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้ และตรงต่อเวลา
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา       
3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย การอภิปราย การทำรายงานกลุ่มและรายงานเดี่ยว การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน การค้นคว้าด้วยตนเอง การวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้และการเรียนรู้แบบสืบสอบ (Inquiry method) รวมทั้งเชิญวิทยากรมาบรรยาย
วัดและประเมินจากผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ ประเมินผลจากการเข้าชั้นเรียน การอภิปราย การทำรายงาน การค้นคว้า และการสอบกลางภาคและปลายภาค   
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
วิเคราะห์แบบวิภาษวิธีเกี่ยวกับประเด็นวิกฤตทางวิชาการ วิชาชีพ ใช้กระบวนการกลุ่มในการอภิปราย สะท้อนความคิด การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การทำแฟ้มวิเคราะห์ข่าวตลอดภาคการศึกษา
ประเมินจากการแสดงความคิดเห็นและการอภิปราย รายงานรายบุคคลและรายงานกลุ่ม และนำเสนอหน้าชั้นเรียนและจัดส่งผลการวิเคราะห์ข่าวทุกสัปดาห์
1. มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียน มีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น มีความรับผิดชอบ ความร่วมมืออย่างสร้างสรรค์
ทำกิจกรรมกลุ่มในลักษณะต่างๆ ทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
วัดและประเมินจากผลการเรียนแบบร่วมมือประเมินจากความรับผิดชอบในการปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียน และประเมินจากผลการทำกิจกรรมกลุ่มและการทำรายงาน
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.1.2    สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม  5.1.3    สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ภาษาพูด ภาษาเขียน ในการสื่อสาร ใช้คอมพิวเตอร์/อินเตอร์เน็ตในการสืบค้น วิเคราะห์และจัดการ สืบค้น ข้อมูลอย่างเป็นระบบและถ่ายทอดสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ การรายงานโดยใช้เทคโนโลยี
การสอนโดยใช้ power point ประกอบการบรรยาย การทำรายงานโดยค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือ เอกสาร และอินเตอร์เน็ต
วัดและประเมินจากผลการติดตามวิเคราะห์ และนำเสนอรายงาน
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การสอนโดยใช้ power point ประกอบการบรรยาย การทำรายงานโดยค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือ เอกสาร และอินเตอร์เน็ต
วัดและประเมินจากผลการติดตามวิเคราะห์ และนำเสนอรายงาน การใช้เทคโนโลยีในการรายงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์บุลคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDCV021 การบริหารงานก่อสร้าง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.3, 2.1,2.3– 3.2 , 4.2 , 5.1 , 6.1 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 9 12 17 5% 30% 5% 30%
2 1.1,1.3, 2.1,2.3– 3.2 , 4.2 , 5.1 , 6.1 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 – 1.7,3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. การบริหารงานวิศวกรรมกอสรางของผศ.วิบูลย สุรสาคร, 2554
2. การวางแผนงานก่อสร้างของ มสธ. , 2560
3. การปฏิบัติวิชาชีพการจัดการงานกอสรางของ มสธ. , 2561
4. รายการตรวจสอบงานกอสรางของวสท. , 2552
5. สัญญารายการ พรบ.ควบคุมการกอสรางของกวีหวังนิเวศน์กุล , 2534
6. วารสารวิศวกรรมสาร ปที่ 34 ฉบับพิเศษ ,กรกฏาคม , 2524
7. Construction Safety Planning by David V. MacCollum , 1995
8. Construction Project Scheduling by Michael T. Callahan , 1992
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ทำงาน รอบคอบ การควบคุมงานและความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1  การสังเกตการณ์การเรียนของผู้เรียน
2.2  ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4