หลักการจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ

Principles of Integrated Pest Management

1.1 รู้หลักการและมีทักษะการจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ
1.2 มีความรู้ ปัจจัยทางนิเวศวิทยาที่มีผลต่อการระบาดของศัตรูพืช
1.3 วิเคราะห์การระบาดของศัตรูพืชและจำแนกปัจจัยสาเหตุ
1.4 วิธีการควบคุมศัตรูพืช
1.5 วางแผน ออกแบบวิธีการจัดการศัตรูพืชที่เหมาะสมกับสภาพการผลิต
1.6 นำความรู้และเทคโนโลยีด้านการจัดการศัตรูพืชไปประยุกต์ใช้ในการผลิตพืช และผลิตภัณฑ์ จากพืชที่ปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ
1.7 มีค่านิยมที่ดีในการจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ
1.8 มีทักษะในการฟัง ค้นคว้า สรุปและวิเคราะห์ข้อมูล เขียนรายงาน และนำเสนอทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
- เพื่อให้นักศึกษารู้จักหลักและวิธีการจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการที่ทันสมัย โดยใช้แนวคิดทาง นิเวศวิทยา
- เพื่อปรับปรุงวิธีการสอน กิจกรรมในชั้นเรียนให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึง ประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับแนวคิด ปรัชญา ยุทธศาสตร์และวิธีการจัดการประชากรศัตรูพืช คำจำกัดความ ประวัติและภาพรวมของการจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ แนวคิดด้านนิเวศวิทยาในการจัดการศัตรูพืช หลักการ พื้นฐานเกี่ยวกับประชากรศัตรูพืชและระดับเศรษฐกิจเพื่อการตัดสินใจ เครื่องมือในการจัดการศัตรูพืชแบบ ผสมผสาน การสุ่มตัวอย่างและการเฝ้าสังเกตการระบาดศัตรูพืช การประเมินความสูญเสียของผลผลิต การ วิเคราะห์ระบบ และการสร้างแบบจำลอง กรณีศึกษาของระบบการจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ
5
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิส่วนบุคคล โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1.1.1  ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต
1.1.2  มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม
1.1.3  มีภาวะความเป็นผู้น าและผู้ตาม สามารถท างานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้ง และล าดับความส าคัญ
1.1.4  เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความ เป็นมนุษย์
1.1.5  เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1  บรรยายแนวคิดและหลักการการผลิตที่ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อมและผู้บริโภค
1.2.2  แนวปฏิบัติของเกษตรกรที่ดี ที่มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม ละสิ่งแวดล้อม
1.2.3  อภิปรายกลุ่มการวิเคราะห์ศัตรูพืชเศรษฐกิจ ปัจจัยการระบาด และรูปแบบการ จัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ
1.3.1  ดำเนินการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินผลแยกเป็น 3 ส่วน โดยแบ่งคะแนนจาก คะแนนทั้งรายวิชา 100 คะแนน เป็น
1) การทดสอบแต่ละหน่วยเรียน 60 คะแนน หรือ 60 % (ช่วงสอบกลางภาค 30% ช่วงสอบปลายภาค 30%)
2) ผลงานที่ได้รับมอบหมาย 35 คะแนน หรือ 35 % แบ่งเป็นรายงานผลศึกษา
 25% และรายงานค้นคว้า 10 %
3) จิตพิสัย ความตั้งใจ การเข้าร่วมกิจกรร 5 คะแนน หรือ 5 %
1.3.2  เกณฑ์ผ่านรายวิชา ผู้ที่จะผ่านรายวิชานี้จะต้องมี
1) คะแนนภาคปฏิบัติไม่ต่ ากว่า 60 คะแนน หรือ 60 % และ จิตพิสัยไม่ต่ำ
กว่า 5 คะแนน หรือ 5 %
 
2) ผ่านการทดสอบรายหน่วยเรียน โดยมีคะแนนตามเกณฑ์ที่กำหนดในตาราง กำหนดน้ำหนักคะแนนเป็นเกณฑ์ผ่าน
2.1.1 หลักการจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ
2.1.2 ปัจจัยทางนิเวศวิทยาที่มีผลต่อการระบาดของศัตรูพืช
2.1.3 วิธีการควบคุมศัตรูพืช
2.1.4 วิธีการจัดการศัตรูพืชที่เหมาะสมกับสภาพการผลิต
2.1.5 การจำแนกและวินิจฉัยศัตรูพืชที่ส าคัญทางเศรษฐกิจ
2.1.6 การวิเคราะห์บทบาทของปัจจัยการระบาดของศัตรูพืชในระบบนิเวศเกษตร
2.2.1 บรรยายและอภิปรายกลุ่มย่อยหลักและทฤษฎีการจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ
2.2.2   กรณีตัวอย่างการจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการทั้งในภูมิภาค   ระดับชาติและ นานาชาติ
2.2.3 ให้นักศึกษาค้นข้อมูลศัตรูพืชที่ส าคัญทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค ระดับชาติ และ ระดับนานาชาติจากเอกสาร ข่าวสาร หรือแหล่งข้อมูลอื่นๆ
2.2.4   การจัดการเรียนรู้โดยกระบวนการกลุ่มการวิเคราะห์ศัตรูพืชเศรษฐกิจ ปัจจัยการ ระบาด และรูปแบบการจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ
2.3.1  การประเมินสรุปผลการเรียนรู้ (Summative Assessment) มักเกิดขึ้นเมื่อจบหน่วย การเรียนรู้เพื่อตรวจสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามตัวชี้วัด
2.3.2   การประเมินผลย่อย (Formative Assessment) เป็นการประเมินเพื่อพัฒนาการ เรียนรู้ (assessment for learning) ที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดการเรียนการสอน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์การระบาดของ ศัตรูพืชและการออกแบบแนวทางการจัดการศัตรูพืชอย่างเหมาะสม เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหา ศัตรูพืชที่เกิดขึ้น
3.2.1  วิธีการสอนโดยใช้การอภิปรายกลุ่มย่อย
3.2.2  วิธีการสอนโดยใช้โครงงานหรือโครงการ
3.2.3  การมอบให้นักศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการน าเสนอผลงาน
3.3.1 การประเมินสรุปผลการเรียนรู้ (Summative Assessment) มักเกิดขึ้นเมื่อจบหน่วย การเรียนรู้เพื่อตรวจสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามตัวชี้วัด
3.3.2 การประเมินผลย่อย (Formative Assessment) เป็นการประเมินเพื่อพัฒนาการ เรียนรู้ (assessment for learning) ที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดการเรียนการสอน
4.1.1  พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2  พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3  พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน ตามก าหนดเวลา
4.2.1  วิธีการสอนโดยใช้การอภิปรายกลุ่มย่อย
4.2.2  วิธีการสอนโดยใช้โครงงานหรือโครงการ
4.2.3  การมอบให้นักศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
 การประเมินผลย่อย (Formative Assessment) เป็นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (assessment for learning) ที่ด าเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดการเรียนการสอน
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศเกษตร
5.1.2 ทักษะการสำรวจและประเมินประชาการศัตรูพืช
5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตและวารสารวิชาการ
5.2.1 วิธีการสอนโดยใช้การทดลองการสำรวจและประเมินประชากรศัตรูพืช
5.2.2 วิธีการสอนโดยใช้การทดลองปฏิบัติการจำแนก นับประชากรศัตรูพืชและประเมิน ความหลากหลายทางชีวภาพ
5.2.3 ให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากวารสารทางวิชาการ แหล่งข้อมูลอื่นที่เชื่อถือได้
5.2.4 การนำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
การประเมินผลย่อย (Formative Assessment) เป็นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (assessment for learning) ที่ด าเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดการเรียนการสอน
ทักษะการวิเคราะห์ระบบนิเวศเกษตร ทักษะการเลือกวิธีการป้องกันกำจัดศัตรูพืชที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ  
ให้ความรู้ปัจจัยในระบบนิเวศเกษตร สร้างความเข้าใจความสัมพันธ์ของปัจจัยในระบบนิเวศเกษตร
ประเมินความรู้ปัจจัยในระบบนิเวศ ประเมินทัศนคติการจัดการระบบนิเวศ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ประวัติและภาพรวมของการจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ -สอบถามความรู้ความเข้าใจในหลักการจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ ประเมินกิจกรรมจากการอภิปราย---กลุ่มแสดงความคิดเห็น 2 1/10
2 ความรู้ ความเข้าใจของศัตรูพืช - เข้าใจสาเหตุการระบาดของศัตรูพืช - รรู้จัก เข้าใจค่าระดับเศรษฐกิจ summative assessment 3 1/10
3 - รู้จักแมลงศัตรูพืชและตัวอย่างที่สำคัญ - รู้จักแมลงศัตรูธรรมชาติ - รู้จักจุลินทรีย์ก่อโรคในแมลง - รู้จักกรณีศึกษาการควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยแมลงศัตรูธรรมชาติและจุลินทรียก่อโรคในแมลง ประเมินทักษะการจำแนกและวิเคราะห์ศัตรูพืช 4 1/10
4 รู้จักประเภทของเชื้อสาเหตุโรคพืชตัวอย่างที่สำคัญ ทักษะารจำแนกอาการของพืชที่ตอบสนองเชื้อสาเหตุโรคพืช รุ้จักเชื้อปฏิปักษ์ รู้จักกรณีศึกษาการควบคุมเชื้อสาเหตุโรคพืช โดยเชื้อปฏิปักษ์ summaive + Formative assessment 5 1/10
5 -รู้จักประเภทของวัชพืช และตัวอย่างที่สำคัญ -ทราบกรณีศึกษาการระบาดของวัชพืชและการป้องกันกำจัด รู้เครื่องมือในการจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ วิธีการควบคุมแมลงศัตรูพืช วิธีการควบคุมเชื้อสาเหตุพืช วิธีการควบคุมวัชพืช สัมถาษณ์ ประเมินความรู้โดยข้อสอบ 6 1/10
6 เข้าใจประชากรและกลมตัวอย่างศัตรูพืช -มีทักษะการสุ่มตัวอย่างศัตรูพืช -รุ้จักสถิติในการสุ่มตัวอย่างและการใช้ในการบริหารศัตรูพืชแบบผสมผสาน formative assessmet 7 1/10
7 รู้จักความหมายและระดับของผลผลิต เข้าใจค่าระดับเศรษฐกิจและการใช้ในการบริหารศัตรูพืชแบบผสมผสาน ประเมินความรู้ 8 1/10
8 -เข้าใจโครงสร้างระบบการผลิตพืช มีทักษะการวิเคราะห์ปัจจัยกายภาพและปัจจัยชีวภาพในระบบการผลตพืช ประเมินทักษะการวิเราะห์ปัจจัยกายภาพในระบบนิเวศเกษตร 9 1/10
9 เข้าใจกรณีศึกษาของการจัดการแมลงศัตรูพืช แบบบูรณาการ เข้าใจกรณีศึกษาของการจัดการเชื้อสาเหตุโรค พืชแบบบูรณาการ เข้าใจกรณีศึกษาของการจัดการวัชพืชแบบ บูรณาการ การวิเคราะห์กรณีศึกษา 10 1/10
10 รู้จักเทคโนโลยีใหม้ทางการเกษตร เช่น Precision Agriculture Smart Farming Physics in Pest Management Biotechnology ความสามารถเชื่อมโยงการนำเทคโนโลยีใหม่ทางการเกษตรมาใช้บริหารจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ 11 1/10
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
Altieri, M.A. 1994. Biodiversity and Pest Management in Agroecosystems. Haworth Press, Binghamton, NY.
Andow, D.A., D.W. Ragsdale, and R.F. Nyvall (eds.). 1997. Ecological Interactions and
Biological Control. Westview Press, Boulder, CO.
Barbosa, P. (ed.). 1998. Conservation Biological Control. Academic Press, San Diego, CA. Benbrook, C.M. 1996. Pest Management at the Crossroads. Consumers Union, Yonkers, NY.
Burdon, J.J. 1987. Diseases and Plant Population Biology. Cambridge University Press, Cambridge, UK.
Campbell, R. 1989. Biological Control of Microbial Plant Pathogens. Cambridge University Press, Cambridge, UK.
Cook, R.J. and K.F. Baker. 1983. The Nature and Practice of Biological Control of Plant
Pathogens. American Phytopathological Society, St. Paul, MN.
Cousens, R. and M. Mortimer. 1995. Dynamics of Weed Populations. Cambridge University Press, Cambridge, UK.
Horn, D.J. 1988. Ecological Approach to Pest Management. Guilford Press, New York, NY.
Jackson, L.E. (ed.). 1997. Ecology in Agriculture. Academic Press, San Diego, CA. Kogan, M. (ed.). 1986. Ecological Theory and Integrated Pest Management. John Wiley & Sons, New York, NY.
Liebman, M. C.L. Mohler, and C.P. Staver. 2001. Ecological Management of Agricultural Weeds. Cambridge University Press, Cambridge, UK.
Mayerfeld, D.B., G.R. Hallberg, G.A. Miller, W.K. Wintersteen, R.G. Hartzler, S.B. Brown,
M.D. Duffy, and J.R. DeWitt. 1996. Planning for the Future: Pest Management in Iowa. Publication IFM 17. Iowa State University Extension, Ames, IA.
National Research Council. 1996. Ecologically Based Pest Management: New Solutions for a New Century. National Academy Press, Washington, DC.
Padgitt, M., D. Newton, R. Penn, and C. Sandretto. 2000. Production Practices for Major Crops in U.S. Agriculture, 1990-97. Statistical Bulletin 969. Economic Research Service, U.S. Department of Agriculture, Washington, DC.
Schneider, R.W. (ed.). 1984. Suppressive Soils and Plant Disease. American Phytopathological Society, St. Paul, MN.
Thurston, H.D. 1992. Sustainable Practices for Plant Disease Management in Traditional Farming Systems. Westview Press, Boulder, CO.
Van Bruggen, A.H.C. 1995. Plant disease severity in high-input compared to reduced- input and organic farming systems. Plant Disease 79: 976-984.
Vorley, W. and D. Keeney (eds.). 1998. Bugs in the System: Redesigning the Pesticide Industry for Sustainable Agriculture. Earthscan Publications Ltd., London, UK.
 
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านช่องทางสื่อออนไลน์ที่ผู้สอนได้จัดท าเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์พฤติกรรมในห้องเรียนของผู้เรียน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มา จากงานวิจัยของอาจารย์หรือจากเกษตรกร