ไม้ผลเศรษฐกิจ

Economic Fruit Crops

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1.1 รู้ประโยชน์และความสำคัญของไม้ผลเศรษฐกิจในประเทศไทย
1.2 เข้าใจลักษณะทางพฤกษศาสตร์ สัณฐานวิทยา ชนิดพันธุ์ของไม้ผลเศรษฐกิจที่สำคัญ
1.3 เข้าใจปัญหาและสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในการผลิตไม้ผลเศรษฐกิจ
1.4 มีทักษะในการวางผัง การปลูก การขยายพันธุ์ไม้ผลเศรษฐกิจ การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว
1.5 มีความรู้ความเข้าใจด้านมาตรฐานการผลิตผลไม้เศรษฐกิจเพื่อการส่งออก และการตลาด
1.6 นำความรู้ ความสามารถ ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการผลิตในแปลงปลูกจริง
เพื่อให้เนื้อหาการสอนครอบคลุมถึงผลไม้เศรษฐกิจหลากหลายชนิดและมีภาพประกอบมากขึ้น
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ สัณฐาณวิทยา ชนิดพันธุ์ของไม้ผลเศรษฐกิจที่สำคัญ การวางผัง การปลูก การขยายพันธุ์ การปฏิบัติดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว มาตรฐานผลไม้เศรษฐกิจเพื่อการส่งออก และการตลาด
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาตามตารางที่เขตพื้นที่ระบุในปฏิทินการศึกษา
 -  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/ สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
ให้นักศึกษาตระหนักและมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้มอบหมายทั้งของตนเอง และผลงานของกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย มีวินัยต่อการเรียน ส่งมอบงานที่มอบหมายตามเวลาที่กำหนด เคารพในการแสดงออกทางความคิดของผู้ร่วมงาน และการรับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในชั้นเรียน ทั้งในกลุ่มและนอกกลุ่ม
 
1.2.1 ใช้การสอนแบบ บรรยายผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ electronic media learning (Power point และ E-Mail และ E-learning ผ่านสื่อทาง Internet) เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ ให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มมีกิจกรรมนักศึกษาค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง
1.2.2 เพิ่มการสอนนอกชั้นเรียน มีกิจกรรมปฏิบัติในแปลงเพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการมีวินัยปฏิบัติงานด้วยตนเองตามจรรยาบรรณวิชาชีพ การไปศึกษานอกสถานที่กับสวนยางพาราที่ประสพผลสำเร็จในอาชีพ
1.3.1 งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
1.3.2 การสังเกต
1.3.3 การสัมภาษณ์
1.3.4 การนำเสนองาน
1.3.5 ข้อสอบอัตนัย
1.3.6 ข้อสอบปรนัย
1.3.7 แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและในสถานการณ์ที่จัดกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาและการเคารพการแสดงความคิดเห็นของผู้อื่น การเคารพผู้อาวุโสและอาจารย์ โดยประเมินทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) การสอนแบบคิดวิเคราะห์ (Critical thinking) การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การสอนบรรยายแบบ Active Learning เน้นให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมและหาแนวทางแก้ไขปัญหาด้วยตนเองหรือกลุ่ม โดยมีอาจารย์เป็นที่ปรึกษาเบื้องต้น รวมทั้งการสอนแบบ e-Learning และการสอนนอกห้องเรียน ทั้งนี้กลยุทธ์ที่จะเลือกใช้ดังกล่าวขึ้นอยู่ด้วยความเหมาะสมกับสถานการณ์และความจำเป็นที่สอดคล้องกันกับองค์ความรู้ในแต่ละหัวข้อหรือบทเรียน
2.3.1 ประเมินพฤติกรรมในชั้นเรียนและการสอบวัดความรู้ โดยมีการสอบย่อย (Quiz) และสอบเป็นทางการ 2 ครั้ง (สอบกลางภาคและสอบปลายภาค)
2.3.2 ทำรายงานรายบุคคลและหรือรายงานกลุ่มเพื่อประเมินความสนใจการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การทำรายงานกรณีศึกษาและนำเสนอหน้าชั้นเรียนเป็นกลุ่ม
3.1.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ โดยการเพิ่มทักษะการคิดวิเคราะห์ การแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาที่ทราบในชั้นเรียนหรืองานที่มอบหมายให้ค้นหาคำตอบเพื่อได้ให้แนวทางในการแก้ปัญหานั้นๆ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) การสอนแบบคิดวิเคราะห์ (Critical thinking) การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การสอนบรรยายแบบ Active Learning เน้นให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมและหาแนวทางแก้ไขปัญหาด้วยตนเองหรือกลุ่ม โดยมีอาจารย์เป็นที่ปรึกษาเบื้องต้น รวมทั้งการสอนแบบ e-Learning และการสอนนอกห้องเรียน ทั้งนี้กลยุทธ์ที่จะเลือกใช้ดังกล่าวขึ้นอยู่ด้วยความเหมาะสมกับสถานการณ์และความจำเป็นที่สอดคล้องกันกับองค์ความรู้ในแต่ละหัวข้อหรือบทเรียน
3.3.1 ประเมินพฤติกรรมในชั้นเรียนและการสอบวัดความรู้ โดยมีการสอบย่อย (Quiz) และสอบเป็นทางการ 2 ครั้ง (สอบกลางภาคและสอบปลายภาค)
3.3.2 ทำรายงานรายบุคคลและหรือรายงานกลุ่มเพื่อประเมินความสนใจการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การทำรายงานกรณีศึกษาและนำเสนอหน้าชั้นเรียนเป็นกลุ่ม
4.1.1 สามารถปรับตัวในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ในทุกสถานภาพ
4.1.2 มีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมายทั้งรายบุคคล และงานกลุ่ม
4.1.3 วางตัวและร่วมแสดงความคิดเห็นในกลุ่มได้อย่างเหมาะสม 
4.2.1 จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาอื่นและบุคคลภายนอก
4.2.2 มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
4.2.3 กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
4.3.1 ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4.3.2 ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
4.3.3 ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ
4.3.4 ให้นักศึกษาประเมินนักศึกษาอื่น ๆ ในรายวิชา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
5.1.1 สามารถใช้ Power point ในการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
5.1.2 สามารถคัดเลือกแหล่งข้อมูล
5.1.3 สามารถค้นคว้าหาข้อมูล/ติดตามการเปลี่ยนแปลงทางอินเตอร์เน็ต
5.1.4 สามารถใช้ภาษาไทยในการนำเสนอด้วยการเขียนและการพูดได้อย่างเหมาะสม
5.2.1 ใช้ PowerPoint ที่น่าสนใจ ชัดเจน ง่ายต่อการติดตามทำความเข้าใจ ประกอบการสอนในชั้นเรียน
5.2.2 การสอนโดยมีการนำเสนอข้อมูลจากการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เพื่อเป็นตัวอย่างกระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอและสืบค้นข้อมูล
5.2.3 การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล
5.2.4 การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.5 การมอบหมายงานที่ต้องมีการนำเสนอทั้งในรูปเอกสารและด้วยวาจาประกอบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.1 ประเมินทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน
5.3.2 ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
5.3.3 ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
6.1.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.1.2 สามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้
การสอนฝึกปฏิบัติการ
ผลจากการปฏิบัติจริง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 1 2 1 2 1 2 3 1 2 3 4 1 2
1 BSCAG157 ไม้ผลเศรษฐกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 1-4, บทที่ 4-7 สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 9 และ สัปดาห์ที่ 17 30% และ 30%
2 บทปฏิบัติการที่ 1-9 การทำงานกลุ่มและผลงาน การนำเสนอผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมายตรงเวลา ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 จิตพิสัย การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามที่มอบหมายตรงเวลาและไม่คัดลอกงานของผู้อื่น การมีส่วนร่วมอภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การเข้าร่วมกิจกรรมสาขา ตลอดภาคการศึกษา 4%
4 กิจกรรม การเข้าร่วมกิจกรรมมหาวิทยาลัย ตลอดภาคการศึกษา 6%
- รองศาสตราจารย์อนุชา จันทรบูรณ์. 2561. การทำสวนไม้ผล. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิทยาเขตน่าน. กระทรวงศึกษาธิการ. ISBN:978-616-361-604-3
- มณีวรรณ มาลากอง. 2536. เอกสารคำสอนไม้ผลเศรษฐกิจ. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตลำปาง. 1-97 น.
- มนัส จูมี. 2543. บทปฏิบัติการวิชาไม้ผลเศรษฐกิจ. สาขาพืชศาสตร์. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิทยาเขตพิษณุโลก. 1-70 น.
- หนังสืออื่น ๆ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับการผลิตไม้ผล
- รายงานวิจัยเกี่ยวกับพืชสวน หรือไม้ผล
- บทความเกี่ยวกับสรีรวิทยาการผลิตไม้ผล จากเว็บไซต์ต่างๆ และอื่นๆ ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
ให้นักศึกษาทุกคนทำการประเมินการสอนของอาจารย์ผ่านระบบออนไลน์ของมหาวิทยาลัย และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยสาขา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนกลยุทธ์การสอนทุกภาคการศึกษา มีการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนใหม่ๆทุกปี อาจารย์ประชุมหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับขั้นคะแนน โดยการสุ่มรายวิชา
สาขามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอน และกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป