มาตรฐานการผลิตทางพืช

Standard for Crops Production

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้
1.1 เข้าใจเกี่ยวกับหลักการผลิตสินค้าเกษตรให้เข้าสู่มาตรฐานการผลิตในห่วงโซ่อุปทานเพื่อให้ได้ผลผลิตที่ปลอดภัย
1.2 นำความรู้ ทักษะในรายวิชาไปผลิตสินค้าเกษตรให้เข้าสู่มาตรฐานการผลิต
1.3  มีค่านิยมที่ดี  ในการผลิตสินค้าเกษตรที่สร้างความยั่งยืน
เพิ่มหลักการผลิตสินค้าเกษตรในมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร เครื่องหมาย “Q” และเครื่องหมาย ฮาลาล (Halal)
ศึกษาเกี่ยวกับความสำคัญของมาตรฐานการผลิตพืชในห่วงโซ่อุปทาน กฎหมายและข้อตกลงทางการค้าที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรและอาหาร การผลิตพืชในแนวทางการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) ในพืชอาหาร เครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร เครื่องหมาย "Q" และมาตรฐานพืชอินทรีย์ หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร GMP และการวิเคราห์ความเสี่ยง HACCP กระบวนการและขั้นตอนการรับรอง และเครื่องหมาย. เครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร อื่นๆ
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาตามตารางที่เขตพื้นที่ระบุในปฏิทินการศึกษา
 -  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/ สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ) 
 
š 1.1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
˜ 1.1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
 
 
กระทำตนเป็นแบบอย่างในการมีวินัย ตรงต่อเวลาและปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายดังนี้
1. เข้าเรียนตรงเวลาแลปฏิบัติตนตามข้อตกลงร่วมกันในสัปดาห์แรก
2. ทำกิจวัตรในการเรียนสม่ำเสมอ
3. ไม่คัดลอกงานผู้อื่นมาเป็นของตน
4. มีการอ้างอิงแหล่งที่มาของแหล่งข้อมูล
š 2.1.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
˜ 2.2.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
 
1. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ   
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย
1. การนำเสนองานที่มีการวิเคราะห์โดยใช้ความรู้ในประเด็นที่เหมาะสม
2. ข้อสอบอัตนัย
3. ข้อสอบปรนัย
š 3.1.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
˜ 3.1.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนา นวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
š 3.1.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
 
1. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ   
2. การสอนแบบปฏิบัติ 
3. แนะนำแหล่งในการหาความรู้เพิ่มเติมที่เหมาะสม
ประเมินจากรายงาน/ การนำเสนอ หรือผลงานที่มีการสังเคราะห์ความรู้
š 4.1.1 ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
˜ 4.1.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
 
กิจกรรมกลุ่ม
สังเกตการทำงานกลุ่ม/ รายบุคคล
   - การมีจิตอาสาในการใช้ความรู้ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม
š 5.1.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
˜ 5.2.1 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
1. ใช้  Power Point Presentation 
2. ใช้วีดีโอประกอบจากอินเทอร์เน็ต
3. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล 
4. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการนำเสนองานด้วยวาจา
การนำเสนองานที่มีเนื้อหาทันต่อเหตุการณ์โดยสืบค้นข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความ สัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1
1 BSCAG108 มาตรฐานการผลิตทางพืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3, 2.1, 2.2, 3.1, 3.2, 3.3, 4.1 สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 9 และ สัปดาห์ที่ 17 30% และ 30%
2 บทปฏิบัติการที่ 1-10 การทำงานกลุ่มและผลงาน การนำเสนอผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 จิตพิสัย การเข้าชั้นเรียน และ การเข้าร่วมกิจกรรมสาขา ตลอดภาคการศึกษา 4%
4 กิจกรรม การเข้าร่วมกิจกรรมมหาวิทยาลัย ตลอดภาคการศึกษา 6 %
ไม่มี
ไม่มี
- สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร: ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ข้อมูลการผลิตสินค้าเกษตร ราคาสินค้าเกษตร ดัชนีราคาและผลิต การนำเข้าและส่งออก แหล่งข้อมูล www. oae.go.th.
- สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ แหล่งข้อมูล https://www.acfs.go.th/#/
1.  กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา  ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน    ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบของมหาวิทยาลัย ฯลฯ
1.1  ประเมินแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอน 
1.2  ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชาจากภาคเรียนที่ 1/2563
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
1. ผลการเรียนของนักศึกษา
2. ผลประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน
นำเสนอในชั้นเรียน กรณีศึกษาตลอดห่วงโซ่อุปทานทั้งงานกลุ่มและเดี่ยว
- แนะนำเอกสารประกอบการสอนและการค้นคว้าประกอบการเรียนในหัวข้อที่เกี่ยวข้อง
การทวนสอบการให้คะแนน จากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
 
ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะจากผลประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4