หลักสัทศาสตร์และสรศาสตร์เพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษ

Essential English Phonetics and Phonology for Communication

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎเกณฑ์การออกเสียง และฝึกออกเสียงสระและพยัญชนะภาษาอังกฤษ การลงเสียงหนักเบาในคําและประโยค การใช้ทํานองเสียงเพื่อสื่อความหมาย การประยุกต์ใช้เพื่อการสื่อสารในบริบทต่าง ๆ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานด้านสัทศาสตร์และสรศาสตร์ภาษาอังกฤษ กระบวนการผลิตเสียงพูด สรีระที่เกี่ยวข้องกับการออกเสียงและการเปล่งเสียงพูด การวิเคราะห์หน่วยเสียงและหน่วยเสียงย่อย การศึกษาพยางค์และโครงสร้างพยางค์ การแปรของเสียงตามหลักสรศาสตร์ การศึกษาหลักการทางสัทศาสตร์และสรศาสตร์ที่พบในข้อความต่อเนื่องเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิผล
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับอวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง การออกเสียงพยัญชนะ สระภาษาอังกฤษ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสียง การถอดเสียงตามหลักสัทอักษรสากล หน่วยเสียง และการวิเคราะห์ระบบเสียงเบื้องต้น การลงเสียงหนักเบา ทำนองเสียง เพื่อประยุกต์ใช้ในบริบททางการสื่อสารต่าง ๆ
- นักศึกษาสามารถส่งอีเมลเพื่อขอคำปรึกษาได้ที่ unaree@rmutl.ac.th
 - นักศึกษาสามารถเข้าพบอาจารย์ได้ทุกวันพุธ เวลา 15.00-16.00 น.
1.1.2 มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม (ความรับผิดชอบรอง)
1.2.1 สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
1.2.2 ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.2.3 กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมีส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น
1.2.4 อธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน
1.3.1 การตรวจสอบการเข้าเรียน การตรงต่อเวลา และการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.3.2 ตรวจสอบการส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย (ทั้งงานเดี่ยวและงานกลุ่ม)
1.3.3 การสังเกตุพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมในชั้นเรียน เช่น การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การเคารพผู้อาวุโส และอาจารย์
1.3.4 การตรวจสอบพฤติกรรมทุจริตในการสอบ
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง (ความรับผิดชอบหลัก)
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน (ความรับผิดชอบหลัก)
2.2.1 สอนแบบบรรยาย อธิบายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่าง และตั้งคำถาม (Questioning) เพื่อให้เกิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) โดยให้นักศึกษาซักถาม และแสดงความคิดเห็น
2.2.2 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
2.2.3 ศึกษาจากสถานการณ์การใช้รูปแบบภาษาในสถานการณ์จริง การออกเสียงภาษาอังกฤษที่แตกต่าง เช่น ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน ภาษาอังกฤษแบบไทย ฯลฯ
2.2.4 การเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติตามโจทย์ที่ได้รับมอบหมายที่สอดคล้องกับบทเรียน
2.3.1 การสอบกลางภาคและสอบปลายภาค
2.3.2 การทดสอบย่อยในแต่ละบทเรียน
2.3.3 การสอบปฏิบัติการออกเสียง
2.3.4 ถาม-ตอบปัญหาในชั้นเรียน
2.3.5 การนำเสนองานที่ได้มอบหมายในชั้นเรียน
3.1.1 สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศจากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อม และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง (ความรับผิดชอบรอง)
3.2.1 วิเคราะห์กรณีศึกษาการออกเสียงภาษาอังกฤษที่แตกต่างกันของผู้ใช้ภาษาอังกฤษที่หลากหลาย เช่น การออกเสียงภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน ภาษาอังกฤษแบบคนเอเชีย (เช่น อินเดีย จีน เกาหลี ญี่ปุ่น ไทย ฯลฯ)
3.2.2 การมอบหมายงานโดยกำหนดให้มีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
3.3.1 การเขียนบันทึก
3.3.2 การนำเสนองาน
3.3.3 ข้อสอบอัตนัย/ปรนัย
4.1.4 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง (ความรับผิดชอบรอง)
4.2.1 การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)กิจกรรมการบูรณการร่วมระหว่างการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
4.2.2 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษาในลักษณะของการทำงานเป็นทีม
4.2.3 การนำเสนองานด้วยวาจา
4.3.1 ประเมินพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2 ประเมินการนำเสนองานด้วยวาจา (ทั้งงานเดี่ยวและงานกลุ่ม) ด้วยรูปแบบการประเมินตนเอง และการประเมินโดยเพื่อน (ตามแบบฟอร์มที่กำหนด
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1.2 มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม 2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน 3.1.1 สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศจากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง 4.1.4 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1 BOAEC104 หลักสัทศาสตร์และสรศาสตร์เพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.2 1. การตรวจสอบการเข้าเรียน การตรงต่อเวลา และการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 2. ตรวจสอบการส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย (ทั้งงานเดี่ยวและงานกลุ่ม) 3. การสังเกตุพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมในชั้นเรียน เช่น การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การเคารพผู้อาวุโส และอาจารย์ 4. การตรวจสอบพฤติกรรมทุจริตในการสอบ ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1.1 2.1.2 4.1.4 1. การสอบกลางภาคและสอบปลายภาค 2. การทดสอบย่อยในแต่ละบทเรียน 3. การสอบปฏิบัติการออกเสียง 4. ถาม-ตอบปัญหาในชั้นเรียน 5. การนำเสนองานที่ได้มอบหมายในชั้นเรียน 9, 17 2-8, 10-15 1, 16 70%
3 3.1 1. การเขียนบันทึก 2. การนำเสนองาน 3. ข้อสอบอัตนัย/ปรนัย 1-8 10-15 20%
Taladngoen, U.  (2020).  BOAEC104 Essential English Phonetics and Phonology for Communication.  Phitsanulok: Department of Liberal Arts, Faculty of Business Administration and Liberal Arts, Rajamangala University of Technology Lanna.
ไม่มี
Akmajian A. et al.  (2001).  Linguistics: an introduction to language and communication.  Cambridge: MIT Press.
Bunrueng, P.  (2018).  Phonetics for English communication.  Loei: Faculty of Humanities and Social Sciences, Loei Rajabhat University (Available at https://fliphtml5.com/qpse/nmns/basic).
Cambridge dictionary online.  (2019).  Definition of rose.  Retrieved from https://dictionary.cambridge.org/us/dictionary/english/rose
Carley, P., Mees, I. M. & Collins, B.  (2018).  English phonetics and pronunciation practice.  New York: Routledge.
Celce-Murcia,  M, Brinton, D. M., Goodwin, J. M. & Griner, B.  (2016).  Teaching pronunciation: a course book and reference guide (2nd ed.).  Cambridge: Cambridge University Press.
Connor-Linton, J.  (2006).  Writing (Ralph W. Fasold & Jeff Connor-Linton, Eds.).  Barcelona: Grafos S.A. Arte Sobre Papael.
Dale, P. & Poms, L.  (2005).  English pronunciation made simple.  New York: Pearson Education.
Forel, C. & Puskás, G.  (2005).  Phonetics and phonology: reader for first year English linguistics. Geneva: University of Geneva.
Fromkin, V., Rodman, R. & Hyams, N.  (2007).  An introduction to language (8th ed.).  The United States of America: Thomson West.
Goodwin, J.  (2001).  Teaching pronunciation (Marianne Celce-Murcia, Ed.).  Boston: Cengage Learning.
Hayes, B.  (2009).  Introductory phonology.  Oxford: Wiley-Blackwell.   
Hewings, M.  (2007).  English pronunciation in use: advanced.  Cambridge: Cambridge University Press.
Jotikasthira, P.  (2014).  Introduction to English language: system and structure (3rd ed.).  Bangkok: Chulalongkorn University Press.
Kanoksilapatham, B.  (2016).  Pronunciation in action (7th ed.).  Nakhon Pathom: Silpakorn University Publishing House. 
Kelly, G.  (2000).  How to teach pronunciation.  Malaysia: Pearson Education.
Kracht, M.  (2007).  Introduction to linguistics.  Los Angeles: Department of Linguistics, University of California.
McMahon, A.  (2002).  An introduction to English phonology.  Edinburgh: Edinburgh University Press.
Meyer, C. F.  (2009).  Introducing English linguistics.  New York: Cambridge University Press.
Odden, D.  (2005).  Introducing phonology.  New York: Cambridge University Press.
Orion, G. F.  (1997).  Pronouncing American English: sounds, stress, and intonation (2nd ed.). Boston: Cengage Learning.
Portner, P.  (2006).  Meaning (Ralph W. Fasold & Jeff Connor-Linton, Eds.). Barcelona: Grafos S.A. Arte Sobre Papael.   
Roach, P.  (2000).  English phonetics and phonology (3rd ed.) Cambridge: Cambridge University Press.
Roach, P.  (2009).  English phonetics and phonology: a practical course (4th ed.).  Cambridge: Cambridge University Press.
Rowe, B. M. & Levine, D. P.  (2012).  A concise introduction to linguistics.  USA: Pearson Education.
The International Phonetic Association.  (2015).  The International Phonetic Alphabet (revised 2005).  Retrieved from https://www.internationalphoneticassociation.org/sites/default/files/IPA_Kiel_2015.pdf 
Timyam, N.  (2010).  An introduction to English linguistics.  Bangkok: Department of Foreign Languages, Faculty of Humanities, Kasetsart University.
Underhill, A.  (2005).  Sound foundations: learning and teaching pronunciation.  Oxford: Macmillan Education.
Wiechmann, D.  (2006).  Introduction to Linguistics I: meaning and use.  Retrieved from https://www.db-thueringen.de/servlets/MCRFileNodeServlet/dbt_derivate_ 00009450/introduction%20to%20meaning%20and%20use.pdf
Yule, G.  (1996).  The study of language (2nd ed.).  Cambridge: Cambridge University Press. 
Yule, G.  (2010).  The study of language (4th ed.).  New York: Cambridge University Press.
Zsiga, E.  (2006).  The sounds of language (Ralph W. Fasold & Jeff Connor-Linton, Eds.).  Barcelona: Grafos S.A. Arte Sobre Papael.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  เช่น การสัมมนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในและนอกชั้นเรียน เป็นต้น
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยการทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ