เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์

Seed Technology

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
          1) รู้เกี่ยวกับการกำเนิดและองค์ประกอบของเมล็ด
          2) รู้เกี่ยวกับการงอกและการพัฒนาของเมล็ด
          3) เข้าใจการผลิต การเก็บเกี่ยว และการปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์
          4) เข้าใจการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์
          5) เข้าใจวิธีการตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ตามมาตรฐานสากล
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวิทยาการเมล็ดพันธุ์ อันเป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาการเมล็ดพันธุ์ไปใช้ในการผลิตพืชและการผลิตเมล็ดพันธุ์ โดยมีการนำเอาผลงานวิจัยใหม่ๆ มาเพิ่มเติมในเนื้อหาของรายวิชา ให้สอดคล้องกับการพัฒนาด้านวิทยาการเมล็ดพันธุ์
 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเมล็ดพันธุ์ตั้งแต่การปลูก การเก็บเกี่ยว จนกระทั่งถึงการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์เพื่อนำไปปลูกในฤดูต่อไป กำเนิดของเมล็ดพันธุ์ องค์ประกอบของเมล็ด การงอกและการพัฒนาของเมล็ด การเก็บเกี่ยว การตากและนวด การปรับสภาพเมล็ดพันธุ์ การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ การรับรองเมล็ดพันธุ์ กฎหมายเมล็ดพันธุ์ โรคที่ติดต่อกับเมล็ดพันธุ์ การตรวจสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ตามมาตรฐานสากล การผลิตและสถานภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ในประเทศไทย
    1 -2  ชั่วโมง/สัปดาห์โดยจะแจ้งให้ทราบในชั่วโมงแรกของการสอน สำหรับเวลาที่นักศึกษาสามารถพบได้ คือ   วันพุธ เวลา 15.00  - 17.00 น. ห้องพักอาจารย์  สาขาพืชศาสตร์     โทร. 0834121508
กลุ่มfacebook
       E-mail. M.sanawong@yahoo.com ทุกวัน โดยอาจารย์จะตอบเมื่อมีเวลาว่าง
  š (1) มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติ ในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
 š (2) มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
 
   กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้า ชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความ รับผิดชอบ โดยในการท างานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความ ซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุก คนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการสอนทุกรายวิชารวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดีทำประโยชน์แก่ส่วนรวมและเสียสละ (1) ประเมินการมีวินัยจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงาน ตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรมที่กำหนด
(2) ประเมินจากความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริม หลักสูตร
 (3) ประเมินจากความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
 (4) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
 (5) ประเมินจากผลงานที่ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นหรือมีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการ เพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน
(6) ประเมินจากพฤติกรรมในการทำงานในชั้นเรียนที่ไม่เลือกปฏิบัติและการไม่ ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้า ชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความ รับผิดชอบ โดยในการท างานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความ ซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุก คนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการสอนทุกรายวิชารวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดีทำประโยชน์แก่ส่วนรวมและเสียสละ
(1) ประเมินการมีวินัยจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงาน ตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรมที่กำหนด
(2) ประเมินจากความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริม หลักสูตร
 (3) ประเมินจากความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
 (4) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
 (5) ประเมินจากผลงานที่ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นหรือมีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการ เพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน
(6) ประเมินจากพฤติกรรมในการทำงานในชั้นเรียนที่ไม่เลือกปฏิบัติและการไม่ ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
˜(1) มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพ  ที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบทั้งหลักการ ทฤษฎี และการ ประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
š (2) มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและประยุกต์ทาง ปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
เรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมี การศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึก ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ โดย
1. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) และให้มีการอภิปรายกลุ่ม
2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการ
3. กำหนดให้หาความรู้เพิ่มเติมทางอินเตอร์เน็ตและทำรายงานส่ง
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษาในด้านต่างๆ คือ
 (1) การทดสอบย่อย
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำและส่งรายงาน
 (4) ประเมินจากแผนงานหรือโครงการที่นำเสนอ
(5) ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียนการมีส่วนร่วมในการอภิปรายกลุ่ม
š (1) สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
(2) สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
š (3) ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถ นำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
 
 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นหรือ ต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่นหรือผู้มีประสบการณ์ ดังนี้
(1) สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (2) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
(3) สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้      
(4) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
(5) มีภาวะผู้นำและผู้ตามในการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น (6) สามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติ เฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
โดย ให้ทำงานมอบหมายเป็นกลุ่ม
และ ให้มีการนำเสนอข้อมูลของกลุ่มแก่เพื่อนๆ ในชั้นเรียน
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้น เรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของ ข้อมูล
š(1) ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่ เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
˜  (2) มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม 
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นหรือ ต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่นหรือผู้มีประสบการณ์ ดังนี้
(1) สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (2) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
(3) สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้      
(4) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
(5) มีภาวะผู้นำและผู้ตามในการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น (6) สามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติ เฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้น เรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของ ข้อมูล
 
(1) มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ใน การอ่าน พูด ฟัง และเขียน
š (2) มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ   
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน  ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง สถานการณ์เสมือนจริงหรือแก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษาหรือในการปฏิบัติงานจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่ เหมาะสม เรียนรู้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลาย สถานการณ์
โดยการแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลการมอบหมายงานให้จัดทำรายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและนำเสนอผลงาน
(1) ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอและการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยี สารสนเทศหรือทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขที่เกี่ยวข้องในการนำเสนอข้อมูล
 (2) ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ ประมวลผลและแปลความหมาย (3) การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
 โดย ประเมินจากทักษะการเขียน การสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ จากการอ่านและการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต และการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 BSCAG131 เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.2,1.3, 1.4, การแสดงความคิดเห็น/พฤติกรรมในชั้นเรียน กิจนิสัยในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ ขยันและอดทน การทดสอบย่อย 1-8,10-15 10 %
2 1.3 2.1 2.2 3.1 3.2 4.1 4.3 งานมอบหมายการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ และงานผลิตเมล็ดพันธุ์ 4-16 30%
3 1.3 2.1 2.2 3.1 3.2 5.3 การสอบกลางภาค 9 20%
4 1.3 2.1 2.2 3.1 3.2 4.1 4.3 5.1 5.2 5.3 รายงานกลุ่มนำเสนอผลการค้นคว้ารายงานการปฏิบัติงานมอบหมาย 16 10%
5 1.3 2.1 2.2 3.1 3.2 5.3 สอบปลายภาค 17 20%
6 จิตพิสัยในวิชา การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา จิตพิสัยในวิชา การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา จิตพิสัยกลาง 10%
จวงจันทร์ ดวงพัตรา.  2529.  เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์.  กลุ่มหนังสือเกษตร, กรุงเทพฯ.  210 น.   วันชัย จันทร์ประเสริฐ.  2542.  เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์พืชไร่.  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.  276 น.
ชยพร แอคะรัจน์.  2546.  วิทยาการเมล็ดพันธุ์.  ฐานเกษตรกรรม, กรุงเทพฯ.  197 น. เดชา บุญมลิซ้อน กุศล เอี่ยมทรัพย์ และชุมพร ถาวร.  2548.  การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเก็บรักษาและผลิตเมล็ดพันธุ์พืช.  สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ.  30 น. ธีรศักดิ์ แสงเพ็ง.  2551.  ผลของการเคลือบ polymer ต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ผักบางชนิด.  ปัญหาพิเศษปริญญาตรี ภาควิชาพืชสวน (วท.บ. (เกษตรศาสตร์))--มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม.  31 น. นงลักษณ์ ประกอบบุญ.  2528.  การทดสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์.  โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ.  316 น. บุญนาค วิคแฮม.  2523.  วิทยาการเมล็ดพันธุ์ ตอนที่ 2.  ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.  112 น. ประนอม ศรัยสวัสดิ์.  2549.  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์.  สมาคมเมล็ดพันธุ์แห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ.  116 น. ลำใย โกวิทยากร.  2523.  วิทยาการเมล็ดพันธุ์ ตอนที่ 1.  ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.  112 น.
ชยพร แอคะรัจน์.  2546.  วิทยาการเมล็ดพันธุ์.  ฐานเกษตรกรรม, กรุงเทพฯ.  197 น. เดชา บุญมลิซ้อน กุศล เอี่ยมทรัพย์ และชุมพร ถาวร.  2548.  การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเก็บรักษาและผลิตเมล็ดพันธุ์พืช.  สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ.  30 น. ธีรศักดิ์ แสงเพ็ง.  2551.  ผลของการเคลือบ polymer ต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ผักบางชนิด.  ปัญหาพิเศษปริญญาตรี ภาควิชาพืชสวน (วท.บ. (เกษตรศาสตร์))--มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม.  31 น. นงลักษณ์ ประกอบบุญ.  2528.  การทดสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์.  โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ.  316 น. บุญนาค วิคแฮม.  2523.  วิทยาการเมล็ดพันธุ์ ตอนที่ 2.  ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.  112 น. ประนอม ศรัยสวัสดิ์.  2549.  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์.  สมาคมเมล็ดพันธุ์แห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ.  116 น. ลำใย โกวิทยากร.  2523.  วิทยาการเมล็ดพันธุ์ ตอนที่ 1.  ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.  112 น.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึงวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและ
นอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
 
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์  ในสาขาวิชา หรือ การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
 
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษา นอกจากนี้สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหา
ที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป