ทักษะวิชาชีพพืชศาสตร์ 1

Practical Skills in Plant Science 1

 เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1) สร้างความชำนาญในการผลิตพืชอย่างเป็นระบบ
2) มีทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการผลิตพืช
3) เข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิต ศัตรูในระบบนิเวศ และการเก็บเกี่ยวพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจของอาเซียน
4) มีทักษะในการเตรียมดิน การปลูก การดูแลรักษา และเก็บเกี่ยวผลผลิต
ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปและให้เหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน
ฝึกทักษะวิชาชีพทางพืชศาสตร์เพื่อสร้างความชำนาญในการผลิตพืชอย่างเป็นระบบได้แก่ การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เพื่อการผลิตทางพืช การวางผังปลูก การรู้จักชนิดพืช การเตรียมพื้นที่ปลูก การปลูก การดูแลรักษาและการเก็บเกี่ยวผลผลิต
    1 -2  ชั่วโมง/สัปดาห์โดยจะแจ้งให้ทราบในชั่วโมงแรกของการสอน สำหรับเวลาที่นักศึกษาสามารถพบได้ คือ   วันพุธ เวลา 15.00  - 17.00 น. ห้องพักอาจารย์  สาขาพืชศาสตร์     โทร. 0834121508
       E-mail. M.sanawong@yahoo.com ทุกวัน โดยอาจารย์จะตอบเมื่อมีเวลาว่าง
˜1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. ฝึกการมีวินัย ความพร้อมเพรียงในกิจกรรม
 2.ฝึกให้มีความซื่อสัตย์ในการสอบ ทำการบ้านการอ้างอิงเมื่อนำผลงานของผู้อื่นมาใช้
3.ฝึกการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงต่อเวลา การร่วมกิจกรรม การแต่งกายตามระเบียบ
4.ฝึกให้รู้หน้าที่การเป็นผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่ม
1.ประเมินจากการมีวินัย ความพร้อมเพรียงในกิจกรรม
2.สังเกตจากงานมอบหมาย
3.ประเมินจากการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงต่อเวลา  การร่วมกิจกรรม การแต่งกายตามระเบียบ
4.สังเกตจากความรับผิดชอบในหน้าที่ๆได้รับมอบหมาย และการแสดงออก
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
3.การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
1.ประเมินจากผลการปฎิบัติงาน กลางภาคและปลายภาค
2.สังเกตจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
3.สังเกตจากการนำเสนอได้อย่างมีประสทธิภาพ
 
3.1มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กรณีศึกษาการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
2.การอภิปรายกลุ่ม
1.ประเมินจากการปฎิบัติกิจ กรรม และการแสดงความคิดเห็นในสถานการณ์จริง
2.สังเกตจากการสนทนา การถาม การตอบ
˜4.1มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่
1. จัดกิจกรรมทำงานกลุ่ม
1.ประเมินจากพฤติกรรม และการแสดงออกในการปฏิบัติงานและเข้าสังคม
2. สังเกตภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
3.ประเมินจากพฤติกรรมและการจัดการข้อขัดแย้งในการร่วมกิจกรรม
4.สังเกตจากกิจกรรมที่มีส่วนร่วมในสังคม
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ได้วิเคราะห์ และนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
1.สังเกตการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2.ประเมินประสิทธิภาพจากงานมอบหมาย
3.สังเกตการใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ
˜6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
˜6.2สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1.กำหนดกิจกรรมที่มอบหมายทั้งงานกลุ่ม และงานเดี่ยว
1.ประเมินความสามารถปฏิบัติงานที่มอบหมายได้ด้วยตนเอง
2.ประเมินความสามารถในปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
3.ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 BSCAG101 ทักษะวิชาชีพพืชศาสตร์ 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.2,1.3, 1.4, การเข้าชั้นเรียน การแสดงความคิดเห็น/พฤติกรรมในชั้นเรียน กิจนิสัยในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ ขยันและอดทน 1-7,9-15 10 %
2 2.1,2.2,2.3, 3.1,3.2, 4.1,4.2,4.3,4.4, 6.1,6.2 กระบวนการปฏิบัติงานเกษตรตามหลักการและผลการปฏิบัติงานผลิตพืชในฟาร์ม ร่วมกับผู้อื่น การส่งโครงงาน/การรายงาน 1-7,9-15 60 %
3 5.1,5.2, 5.3 การอภิปรายกลุ่มและรายงานผลปฏิบัติงาน 7,16 20%
4 จิตพิสัยในวิชา 4%
5 จิตพิสัยกลาง 6 %
ตำราและเอกสารหลักที่ใช้ในการเรียนการสอน
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืชไร่ และที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืชทั่วไป
เอกสารและข้อมูลสำคัญที่นักศึกษาจำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติม
เอกสารและข้อมูลแนะนำที่นักศึกษาควรศึกษาเพิ่มเติม
กรมวิชาการเกษตร.  ข้อมูลพืช กรมวิชาการเกษตร.แหล่งข้อมูล: http://203.172.198.146/rice/rice_mix2/index.html
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในห้องและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย
หลักสูตร  กำหนดให้มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยหัวหน้าสาขา -
หลักสูตร  มีการกำหนดกลไกและวิธีการปรับปรุงการสอนเช่น   การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน การจัดเตรียมกรณีตัวอย่างที่เหมาะสมกับเนื้อหาในแต่ละส่วนของรายวิชาการจัดเตรียมสถานการณ์จำลอง
ทวนสอบจากคะแนน  หรืองานที่มอบหมาย
นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุง