แมลงศัตรูพืชและการควบคุม

Plant Insect Pests and Their Controls

1.1 บอกกายวิภาคภายนอกและการเจริญเติบโตของแมลง (2.1)
1.2 บอกอันดับของแมลงศัตรูพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจ (2.1, 2.2)
1.3 มีทักษะการเก็บรักษาและจำแนกตัวอย่างแมลงศัตรูพืชในท้องถิ่น (2.1, 2.2, 4.1)
1.4 อธิบายหลักการและวิธีการควบคุมแมลงศัตรูพืช (2.1)
1.5 รู้จักการค้นคว้าความรู้และเทคโนโลยีใหม่ในการควบคุมแมลงศัตรูพืช (3.2)
1.6 รู้จักการผลิตพืชที่ปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ (2.2)
1.5 วางแผน ออกแบบควบคุมแมลงศัตรูพืชที่เหมาะสมกับสภาพการผลิต (2.2)
1.6 มีค่านิยมที่ดีในการจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ (1.2)
1.8 มีทักษะการสืบค้น ใช้ข้อมูลสารสนเทศ ทักษะการฟัง จิตสำนักสาธารณะ การสรุปและวิเคราะห์ข้อมูล เขียนรายงานและนำเสนอ (5.2, 5.2)
- เพื่อให้นักศึกษามีทักษะวิชาชีพการจัดการศัตรูพืช รู้จักหลักและวิธีการควบคุมแมลงศัตรูพืชด้วยวิธีการที่ทันสมัย โดยใช้แนวคิดบูรณาการ
- เพื่อปรับปรุงวิธีการสอน กิจกรรมในชั้นเรียนให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 
ความสาคัญของแมลงศัตรูพืช กายวิภาคการเจริญเติบโตและการถอดรูปของแมลง การจำแนกอันดับของแมลงแมลงศัตรูพืชที่สาคัญทางเศรษฐกิจ รวมทั้งหลักการควบคุมแมลงศัตรูพืชด้วยวิธีการต่างๆ
- ตามตารางกำหนดเวลาของอาจารย์ผู้สอนในแต่ละภาคการศึกษา
โทรศัพท์ 0816979931 email: ychalermsan@gmail.com
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
- จัดเก็บสื่อการสอนบน Padlet: https://padlet.com/ychalermsan/yanyong2310
- จัดช่องทางการสื่อสารบน Facebook: Insect Pest 2018 / https://www.facebook.com/groups/195159277802096/
มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.    บรรยายแนวคิดแมลงในระบบนิเวศ และหลักการการผลิตที่ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อมและผู้บริโภค
2.    แนวปฏิบัติของเกษตรกรที่ดี ที่มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม ละสิ่งแวดล้อม
อภิปรายกลุ่มการวิเคราะห์ศัตรูพืชเศรษฐกิจ ปัจจัยการระบาด และรูปแบบการควบคุมศัตรูพืช
การเข้าเรียน การตรงต่อเวลา ความเข้าใจในหลักการผลิตพืชปลอดภัย การแสดงหลักการและเหตุผลในการอภิปราย
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องวิธีการสอน
1.   บรรยายและอภิปรายกลุ่มย่อยหลักและทฤษฎีแมลงศัตรูพืชและการควบคุม
2.        บรรยายลักษณะทั่วไปของแมลง อวัยวะภายนอกที่สำคัญ การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ตัวอ่อน ดักแด้ ลักษณะอนุกรมวิธาน อันดับของแมลง
3.        บรรยาย อภิปรายกลุ่มวิธีการควบคุมแมลงศัตรูพืช
4.        กรณีตัวอย่างการควบคุมศัตรูพืชของเกษตรกร
5.   ให้นักศึกษาค้นข้อมูลศัตรูพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค ระดับชาติ และระดับนานาชาติจากเอกสาร ข่าวสาร หรือแหล่งข้อมูลอื่นๆ
6.        ให้ นศ. ส่งตัวอย่างแมลงศัตรูพืช
1.    การประเมินสรุปผลการเรียนรู้ (Summative Assessment) มักเกิดขึ้นเมื่อจบหน่วยการเรียนรู้เพื่อตรวจสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามตัวชี้วัด
การประเมินผลย่อย (Formative Assessment) เป็นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (assessment for learning) ที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดการเรียนการสอน
3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นามาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
1.        ให้ นศ. สัมภาษณ์เกษตรกร
2.        ให้ นศ. ส่งตัวอย่างแมลงศัตรูพืช
การมอบให้นักศึกษาค้นคว้าเทคโนโลยีใหม่ในการควบคุมแมลงศัตรูพืช วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
1.        การประเมินสรุปผลการเรียนรู้ (Summative Assessment) มักเกิดขึ้นเมื่อจบหน่วยการเรียนรู้เพื่อตรวจสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามตัวชี้วัด
2.        การประเมินผลย่อย (Formative Assessment) เป็นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (assessment for learning) ที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดการเรียนการสอน
4.2 มีจิตอาสาและสานึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสานึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทาประโยชน์ให้สังคม
วิธีการสอนโดยใช้การอภิปรายกลุ่มย่อย วิธีการสอนโดยให้นักศึกษาสัมภาษณ์เกษตรกร

การมอบให้นักศึกษาส่งตัวอย่างแมลง ค้นคว้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
การประเมินผลย่อย (Formative Assessment) เป็นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (assessment for learning) ที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดการเรียนการสอน
5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วิธีการสอนโดยใช้การทดลองการสำรวจและประเมินประชากรศัตรูพืช วิธีการสอนโดยใช้การทดลองปฏิบัติการจำแนก นับประชากรศัตรูพืชและประเมินความหนาแน่น ให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากวารสารทางวิชาการ แหล่งข้อมูลอื่นที่เชื่อถือได้

การนำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
การประเมินผลย่อย (Formative Assessment) เป็นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (assessment for learning) ที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดการเรียนการสอน
มีทักษะทางวิชาชีพ หมายถึง มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
การจัดหมวดหมู่แมลงจากลักษณะภายนอก การเก็บตัวอย่างแมลงศัตรูพืชจากแปลงพืชเศรษฐกิจในชุมชน การจัดตัวอย่างเพื่อการจำแนก การสุ่มตัวอย่างแมลง
การประเมินผลย่อย (Formative Assessment) เป็นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (assessment for learning) ที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดการเรียนการสอน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2
1 BSCAG111 แมลงศัตรูพืชและการควบคุม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องวิธีการสอน 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นามาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8, 17 20%
2 1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องวิธีการสอน 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นามาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 4.2 มีจิตอาสาและสานึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสานึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทาประโยชน์ให้สังคม มีทักษะทางวิชาชีพ หมายถึง มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย อภิปรายกลุ่ม ตัวอย่างแมลง ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องวิธีการสอน 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นามาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 4.2 มีจิตอาสาและสานึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสานึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทาประโยชน์ให้สังคม 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ (PLANT DISEASES AN D INSECT PESTS)

ผู้แต่ง : พิสุทธิ์ เอกอำนวย Barcode : 9786169276708 ISBN : 9786169276708 ปีพิมพ์ : 5
วารสารวิชาการในประเทศและต่างประเทศ
วารสารวิชาการในประเทศและต่างประเทศ
1.1        การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2        แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3    ข้อเสนอแนะผ่านช่องทางสื่อออนไลน์ที่ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
 
2.1   การสังเกตการณ์พฤติกรรมในห้องเรียนของผู้เรียน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือจากเกษตรกร