งานมัคคุเทศก์

Tour Guiding

 เพื่อศึกษาองค์ประกอบพื้นฐาน และปรัชญาของมัคคุเทศก์ บทบาท หน้าที่ จรรยาบรรณของมัคคุเทศก์วิธีปฏิบัติงานของมัคคุเทศก์ ความสามารถในการเป็นผู้นำการท่องเที่ยว ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับงานมัคคุเทศก์ เช่น จัดเตรียมเอกสารพิธีการเข้า – ออกราชอาณาจักรไทย ศุลกากร การแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ การทำหนังสือเดินทางและการขอวีซ่า การรับ – ส่งนักท่องเที่ยว การพูดในที่ชุมชน การประสานงานห้องพักแรมและรถบริการนำเที่ยว การฝึกปฏิบัตินำชมแหล่งท่องเที่ยวในท้องถิ่นตามเส้นทางที่กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬากำหนด โดยใช้ภาษาต่างประเทศ เน้นการบรรยายข้อมูลประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ ศาสนา การเมืองการปกครอง ตลอดจนเทศกาลงานประเพณีต่าง ๆ โดยแบ่งตามยุคสมัยของไทย โดยบูรณาการกับวิชาที่เกี่ยวข้อง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ และมีความศักยภาพในการประกอบอาชีพมัคคุเทศก์ที่ได้ตามมาตรฐานสากล มีความเป็นมัคคุเทศก์มืออาชีพ ได้รับการยอมรับ
องค์ประกอบพื้นฐานและปรัชญาของงานมัคคุเทศก์ บทบาท หน้าที่ จรรยาบรรณของมัคคุเทศก์ วิธีการปฏิบัติงานของมัคคุเทศก์ จัดเตรียมเอกสาร พิธีการเข้า-ออกราชอาณาจักรไทย ศุลกากร การแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ การทำหนังสือเดินทางและการขอวีซ่า การรับ-ส่ง นักท่องเที่ยว การพูดในที่ชุมชนการประสานงานห้องพักโรงแรมและรถบริการนำเที่ยว ฝึกปฏิบัตินำชมแหล่งท่องเที่ยวในท้องถิ่นและตามเส้นทางที่กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬากำหนด เน้นการบรรยายข้อมูลประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ สังคมและเศรษฐกิจ ศาสนา การเมืองการปกครอง เทศกาลงานประเพณีของไทย โดยใช้ภาษาต่างประเทศและมีการบูรณาการกับวิชาที่เกี่ยวข้อง ศึกษาวิธีการดูแลความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า  แก้ไข
3.1  อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษา ผ่านทางป้ายประกาศ ผ่านระบบ อินเตอร์เน็ต และโทรศัพท์ 3.2  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ( เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
Accountability ความรับผิดชอบ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ) บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม   1.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะคุณธรรมจริยธรรม โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก ( จุดดำ  ) และความรับผิดชอบรอง ( จุดขาว     )
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของหลักสูตร ด้านคุณธรรมจริยธรรม   1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต  และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.2.1.1 จุดดำ 1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 2.2.1.1   1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 2.2.1.1   1.4 มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ
 1. กำหนดให้มีวิชาจรรยาบรรณโดยเฉพาะและทำรายงาน   
2. สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ   
3. สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน 
4. สอนโดยการอ้างอิงประมวลกฎหมาย (Ethic Code) ที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณ  
 5. การบรรยายพิเศษโดยผู้มีประสบการณ์หรือพระในศาสนาต่าง ๆ  
6. การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน 
 รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ 
1)  ผลการสอบในวิชาคุณธรรม จริยธรรมโดยตรง จรรยาบรรณวิชาชีพ และกฎหมาย    
2)  สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน  
 3)  ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน  
 4)  กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก  
 5)  ผลการประเมินจากการฝึกงานสหกิจโดยองค์กรที่ผู้เรียนเข้าฝึกงาน
Ability ความรู้ความสามารถ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจ)
บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน
Accountability ความรับผิดชอบ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ) บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม 2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของหลักสูตร ด้านความรู้ 1. มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขาวิชาการโรงแรมทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2.2.1.2   2. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.2.1.2   3. มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์กรความรู้ในงานอาชีพ 2.2.1.2
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ
1. การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ  
2. ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ  
 3. อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง  
4. การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน   ü 5. ฝึกปฏิบัติร่วมกับสถานประกอบการ  
6. ฝึกปฏิบัตินอกสถานที่โดยร่วมกับมืออาชีพ (professional) ในวิชานั้นๆ 
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ
1. ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน  
2. ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค   
3. ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน  
4. ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 
Brilliance ความเฉลียวฉลาด (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ) บัณฑิตมีความรอบรู้ สามารถสืบค้นข้อมูล และข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและสามารถประเมินข้อมูล แนวคิด และหลักฐานใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งานตามสถานการณ์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สามารถประยุกต์ใช้ความรู้จากทฤษฎีและประสบการณ์เพื่อคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ แก้ไขปัญหาและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างมีเหตุผล 3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก  มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของหลักสูตร ทักษะทางปัญญา   1. มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 2.2.1.3 2. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 2.2.1.3    3. มีสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาเพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล 2.2.1.3  แก้ไข
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ
1. ฝึกปฏิบัติและจัดทำโครงการเกี่ยวกับธุรกิจนำเที่ยว ธุรกิจโรงแรม ตลอดจนการวิจัย  
2. การอภิปรายเป็นกลุ่ม  
 3. การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า หรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา  
4. การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ  
5. กำหนดให้มีรายวิชาที่ต้องใช้ทักษะการคำนวณ เช่น การจัดการการบริการการควบคุมต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ
1. ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ  
 2. การสอบข้อเขียน  
  3. การเขียนรายงาน
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 
4.   ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ Learning การเรียนรู้ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)
บัณฑิตมีความใฝ่รู้ มีความสามารถในการติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาตนเองและอาชีพ สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ สามารถสรุปประเด็นปัญหา และบูรณาการความรู้สู่การปฏิบัติ สามารถช่วยและเอื้อต่อการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม เข้าใจการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี 4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก (      ) และความรับผิดชอบรอง (      ) มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของหลักสูตร ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้ 2.2.1.4   2. มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล 2.2.1.4 3. มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม 2.2.1.4
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ
 1. บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรายวิชาชีพ  
 2. มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม  
 3. สอนโดยใช้กรณีศึกษา  
ายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ
1. ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน  
2. ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer)   ü 3. ใช้ประวัติสะสมงาน (portfolio) ในการประเมิน  
4. สังเกตพฤติกรรมในการเรียน     5. ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา 
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 
      Ability ความรู้ความสามารถ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ) บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน   5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ         โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ข้อที่ตรงกับของหลักสูตร ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2.1.5   2. มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม 2.2.1.5   3. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2.1.5
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ
1. ทดสอบระดับความสามารถทางภาษาในการติดต่อกับคนไทยและต่างชาติผ่านการสอบปฏิบัติและสอบวัดระดับความรู้ภาษาอังกฤษ  
  2. ทดลองให้ใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางการท่องเที่ยวและโรงแรม หรือสายการบิน  
 3. นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน    
4. บูรณาการการใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์ หรือสื่อต่าง ๆ    
5. ทดสอบกระบวนการแก้ปัญหาหรือกรณีศึกษาที่จำเป็นต้องใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์หรือสถิติในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง 
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ
1. ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ  
 2. ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน  
  3. ประเมินผลจากการใช้คอมพิวเตอร์  
 4. ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552) บัณฑิตแสดงออกถึงทักษะในการนำความรู้มาบูรณาการกับการปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องและเที่ยงตรง มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ การประยุกต์ใช้องค์ความรู้มาแก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนาตนเอง องค์กร ชุมชนและสังคม สามารถปรับตัวให้เข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน และสังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม         โดยแสดงความรับผิดชอบหลัก  มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ หลักสูตรการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on) 1. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ   2. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ   3. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการที่มีมาตรฐานและเป็นสากล 
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ
 1. ทดสอบทักษะทางวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการโดยการสอบปฏิบัติ  
 2. จัดสอบตามสมรรถนะวิชาชีพทั้งภายในและศูนย์ทดสอบภายนอก  
3. ทดสอบทางด้านภาษาต่างประเทศเพื่อการทำงานที่มีมาตรฐานสากล
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ
1. ประเมินผลจากความถูกต้องตามมาตรฐาน  
2. ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ  
 3. ประเมินผลจากผลสอบภาษาต่างประเทศที่มีมาตรฐาน 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยฌธรรม 2.ด้่านความรู้ 3. ด้านปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะด้าน การปฏิบัติงานในวิชาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 1 2 1 3 1 1
1 BOATH110 งานมัคคุเทศก์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1 ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาค 9,18 25%
3 2.1, 3.1, 4.1 ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน ทุกสัปดาห์ 20%
4 6.1 ประเมินผลจากการสอบสอบปฏิบัติ 10 45%
ฉลองศรี พิมลสมพงษ์. 2550. งานมัคคุเทศก์. เอกสารคำสอน ภาควิชาศิลปาชีพ  คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ฉันทัช วรรณถนอม.2551. หลักการมัคคุเทศก์. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
แม็กกาซีนเกี่ยวกับการท่องเที่ยว อาทิ อสท. สารคดี  แก้ไข
เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา                 http://www.tourismthailand.org                                                                                                 http://www.tourismcentre.go.th/  แก้ไข
 1.1การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 นักศึกษาประเมินผลการสอน ความพึงพอใจ และประสิทธิผลการเรียนรู้ในระบบประเมินออนไลน์
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษาและผลงานนักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย 2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 2.3 ผู้สอนประเมินการสอนของตนเองโดยสังเกตพฤติกรรมการเรียนและผลการเรียนของนักศึกษา 
3.1 ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัยและเหมาะสมกับนักศึกษารุ่นต่อไป 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน เพื่อพัฒนารูปแบบ วิธีการเรียนการสอน 3.3 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักศึกษากับนักศึกษา และนักศึกษากับผู้สอน เกี่ยวกับเนื้อหาและการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา
4.1 คณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรแต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 4.2 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามกรอบเวลาที่ทางหลักสูตรกำหนด 4.3 คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยการสุ่มสัมภาษณ์นักศึกษากลุ่มเป้าหมาย 4.4 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยใช้แบบประเมินตนเองของนักศึกษาต่อระดับผลการเรียนรู้  แก้ไข
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ 5.3   ลงพื้นที่ทำการศึกษาวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวของกับรายวิชาเพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับงานวิจัย 5.4   ปรับปรุงเนื้อหารายวิชที่ได้จากการวิจัย