ภาษาจีนพื้นฐาน

Fundamental Chinese

1.1 เพื่อให้รู้ลักษณะโครงสร้างและตัวอักษรภาษาจีน
1.2 เพื่อฝึกทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน
1.3 เพื่อให้สามารถใช้ภาษาจีนในการสนทนาชีวิตประจำวันอย่างง่าย
1.4 เพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาจีน และการใช้ภาษาจีนเป็นเครื่องมือสื่อสาร
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาภาษาจีนในขั้นสูงต่อไป
ศึกษาและฝึกทักษะพื้นฐานของภาษาจีน ได้แก่ ระบบการออกเสียง ระบบสัทอักษร ศึกษาวิธีการเขียนอักษรจีนตามลำดับขีด วิธีการเขียนอักษรจีนให้ถูกต้อง ฝึกทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนจากคำศัพท์ วลี และประโยคอย่างง่าย
-  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น และประพฤติตนโดยคำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม
1.1.1      มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2      มีจรรยาบรรณ ทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3     มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4      เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1     กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย
1.2.2     ให้เข้าชั้นเรียนตรงต่อเวลา และแต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.2.3     อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในการสอน
1.2.4     สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการ และวิชาชีพแก่สังคม
1.2.5     ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
1.2.6     ยกย่องเชิดชูนักศึกษาที่ทำความดี และเสียสละ
1.3.1     ประเมินผลการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน
1.3.2     ประเมินผลความมีวินัย และความใส่ใจของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3.3     ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่กำหนด
1.3.4     ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย และการสอบ
2.1.1      มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2      สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3    สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2.1      ใช้รูปแบบการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.2.2      ใช้การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน
2.2.3    จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
2.3.1      การทดสอบย่อย
2.3.2      การสอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
2.3.3      ประเมินจากการที่ได้รับมอบหมาย
2.3.4      การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1.1      มีทักษะในการปฎิบัติจากการประยุกต์ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2    มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1     ใช้รูปแบบการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
3.2.2      ใช้การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน
3.2.3    ให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่างๆ โดยใช้บทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง
3.3.1     บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
3.3.2     การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ไขปัญหาในบริบทต่างๆ
3.3.3     การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.3.4    การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
4.1.1     มีมนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2     พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตาม
4.1.3     สามารถทำงานเป็นทีม และแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4    สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1     ดำเนินการสอนโดยกำหนดกิจกรรมกลุ่ม
4.2.2    ค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ที่มีประสบการณ์และประสบความสำเร็จในงานอาชีพ
4.3.1     ประเมินพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
4.3.2    พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรม
5.1.1     เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสท่สารได้เหมาะสม
5.1.2     สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3    ใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
5.2.1    ให้นักศึกษาติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าหาข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.1     ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร ค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงาน
5.3.2    จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ และวัฒนธรรมสากล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ทดสอบย่อย (ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน) 4-6,11-14 15%
2 สอบกลางภาค 9 25%
3 สอบปลายภาค 17 25%
4 การทำงานกลุ่มและนำเสนอผลงาน 15 15%
5 การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
6 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
หนังสือคนไทยเรียนภาษาจีน 1, สำนักพิมพ์ Peking University, อาจารย์ประพฤทธิ์ ศุกลรัตนเมธี และคณะ
แบบฝึกหัดคนไทยเรียนภาษาจีน 1, สำนักพิมพ์ Peking University, อาจารย์ประพฤทธิ์ ศุกลรัตนเมธี และคณะ
แบบเรียนภาษาจีนพื้นฐาน ชุดสัมผัสภาษาจีน 1, สำนักพิมพ์ Higher Education, Jiang Liping
- เว็บไซต์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาตลอดจนแบบฝึกหัดออนไลน์
http://www.chinese.cn/onlinelearning/
http://chinesepod.com/
www.jiewfudao.com
www.china2learn.com
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

   การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน    แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา    ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ