วิศวกรรมการบำรุงรักษา

Maintenance Engineering

รายวิชาวิศวกรรมการบำรุงรักษามีจุดมุ่งหมายการเรียนรู้ดังนี้

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและความเชี่ยวชาญ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับหลักการบำรุงรักษาเครื่องจักรกล สาเหตุของการเสื่อมสภาพ การตรวจสภาพเครื่องจักรกล การวางแผน การตรวจซ่อม เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้หลักการควบคุมความปลอดภัยในการซ่อมเครื่องจักร เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินผลในการบำรุงรักษาเครื่องจักร เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ของระบบความเชื่อมั่นและการประเมินผลหลังจากการควบคุมการบำรุงรักษา

เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่องานทางด้านการบำรุงรักษา
เพื่อให้นักศึกษาได้มีองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมการบำรุงรักษา โดยการสร้างกระบวนการเรียนรู้ของนักศึกษาผ่านกลวิธีการสอน มีการวางระบบการประเมินผลการเรียนรู้ และการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้รับการพัฒนามาตรฐานผลการเรียนรู้ครบทั้ง 6 ด้านตามกรอบของ TQF คือด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านทักษะพิสัย จึงได้พัฒนากลวิธีการสอนผ่านกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน (Research - Based Learning) และการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem - Based Learning) ตลอดจนการเพิ่มเนื้อหารายวิชาให้มีความทันสมัย ในหัวข้อการวางแผนควบคุมการบำรุงรักษา งานวิจัยที่เกี่ยวกับวิศวกรรมการบำรุงรักษา เช่น การบำรุงรักษาในโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น เพื่อจะได้เป็นแนวทางในการพิจารณาการจัดเตรียมการบำรุงรักษา ทั้งนี้เพื่อมุ่งหวังให้นักศึกษาสามารถบูรณาการองค์ความรู้ที่จะนำไปใช้ในการปฏิบัติงานได้จริงเมื่อทำการศึกษาครบตามเนื้อหาสาระที่ได้ดำเนินการพัฒนาปรับปรุง
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการบำรุงรักษาเครื่องจักรกล สาเหตุของการเสื่อมสภาพ การตรวจสภาพเครื่องจักรกล การวางแผนและควบคุมการบำรุงรักษา ความปลอดภัยในการซ่อมเครื่องจักร การบำรุงรักษาในแบบต่าง ๆ และการประเมินผลในการบำรุงเครื่องจักร
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาโดยการติดป้ายประกาศ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 แสดงออกซึ่งจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยะธรรมทางวิชาการและวิชาชีพครู ที่เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน (รอง)
1.2 สามารถจัดการและคิดแก้ปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมจรรยาบรรณทางวิชาชีพครู (หลัก)
1.3 แสดงออกซึ่งการมีวินัย ขยัน อดทน เสียสละ ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี (หลัก)
1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (รอง)
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลา การทำกิจกรรมในชั้นเรียน
2. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3. ประเมินจากงานที่มอบหมายให้นักศึกษา เช่น การทำรายงาน การอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล ไม่ลอกงานเพื่อน
4. ประเมินผลพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และการสอบ เช่น การแต่งกายที่ถูกระเบียบ การมีสัมมนาคารวะต่อผู้ใหญ่ การทุจริตในการสอบ
5. ประเมินจากการรับฟังคิดเห็นร่วมกับเพื่อนในชั้นเรียน
6. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรม
1. แบบประเมินพฤติกรรม
2. แบบประเมินความพึงพอใจ ในการร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
3. แบบประเมินการนำเสนอ
4. แบบบันทึกสะท้อนคิดของนักศึกษา
5. แบบประเมินทักษะการทำงานเป็นทีม
6. แบบประเมินผลงานที่มอบหมาย
2.1 มีความรอบรู้ในด้านความรู้ทั่วไป วิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะ อย่างกว้างขวางลึกซึ้งและเป็นระบบ (หลัก)
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาเฉพาะรวมทั้งคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของงานวิจัยเพื่อต่อยอดองค์ความรู้ (รอง)
1. ประเมินจากการตอบข้อซักถามการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
2. ประเมินจากการทำแบบฝึกหัด
3. ประเมินจากรายงานและการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4. ประเมินความรู้จากการสอบกลางภาค สอบปลายภาค และการทดสอบหลังเรียน
5. ประเมินจากผลของการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน (Research - Based Learning)
1. แบบทดสอบหลังเรียน
2. แบบทดสอบกลางภาค
3. แบบทดสอบปลายภาค
4. แบบบันทึกสะท้อนคิดของนักศึกษา
5. แบบทดสอบเป็นคำถามปลายเปิดเพื่อทดสอบความรู้
6. แบบประเมินการนำเสนอ
7. แบบประเมินผลการคิดที่เป็นระบบที่มีต่อการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน
8. แบบประเมินความพึงพอใจต่อการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน
3.1 มีจิตสำนึกในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มีความสลับซับซ้อนในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม (หลัก)
3.2 มีทักษะในการเป็นผู้นำความรู้เพื่อการสืบค้นข้อมูล วินิจฉัย วิเคราะห์และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ (รอง)
1. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
2. ประเมินจากการนำเสนอและอภิปรายกลุ่ม การตอบข้อซักถาม
3. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4. ประเมินความรับผิดชอบงานกลุ่ม การส่งงานตามเวลา
การช่วยเหลือในการทำงาน
5. ประเมินตนเอง และเพื่อน
6. ประเมินจากผลการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem -
Based Learning)
7. ประเมินจากการจัดสัมมนา 2 ครั้ง ในสัปดาห์ที่ 8 และสัปดาห์ที่ 16 ตามหัวข้องานวิจัยจากการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานโดยให้นักศึกษาร่วมกันดำเนินการจัดสัมมนาด้วยตนเอง
1. แบบประเมินรายงานการวิเคราะห์สถานการณ์
2. แบบประเมินการนำเสนอ
3. แบบบันทึกสะท้อนคิดของนักศึกษา
4. แบบประเมินทักษะการทำงานเป็นทีม
5. แบบประเมินการมีส่วนร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
6. แบบประเมินตนเอง และเพื่อน
7. แบบประเมินผลการประชุมสัมมนา
4.1 แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่น และมีวุฒิภาวะทางอารมณ์ (รอง)
4.2 แสดงออกถึงการมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการแก้ไขสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม (รอง)
4.3 สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ การทำงานเป็นทีม ช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์(หลัก)
4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม (รอง)
1. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
2. ประเมินจากการนำเสนอและอภิปรายกลุ่ม การตอบข้อซักถาม
3. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4. ประเมินความรับผิดชอบงานกลุ่ม การส่งงานตามเวลา
การช่วยเหลือในการทำงาน
5. ประเมินตนเอง และเพื่อน
6. ประเมินจากผลการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem -
Based Learning)
7. ประเมินจากการจัดสัมมนา 2 ครั้ง ในสัปดาห์ที่ 8 และสัปดาห์ที่ 16 ตามหัวข้องานวิจัยจากการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
โดยให้นักศึกษาร่วมกันดำเนินการจัดสัมมนาด้วยตนเอง
1. แบบประเมินรายงานการวิเคราะห์สถานการณ์
2. แบบประเมินการนำเสนอ
3. แบบบันทึกสะท้อนคิดของนักศึกษา
4. แบบประเมินทักษะการทำงานเป็นทีม
5. แบบประเมินการมีส่วนร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
6. แบบประเมินตนเอง และเพื่อน
7. แบบประเมินผลการประชุมสัมมนา
5.2 สามารถใช้ดุลยพินิจในการสืบค้น วิเคราะห์ ประมวลผล แปลความหมายและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม (รอง)
5.3 สามารถสนทนา เขียน และนำเสนอทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศเพื่อสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ(รอง)
1. ประเมินจากแบบฝึกหัด
2. ประเมินจากรายงาน และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3. ประเมินทักษะการใช้ภาษาจากเอกสาร การรายงานและงาน
มอบหมาย
4. ประเมินทักษะการใช้สื่อ การใช้ภาษา จากการแสดงความ
คิดเห็น
5. ประเมินจากคุณภาพของข้อมูลที่ใช้ประกอบในรายงาน
6. ประเมินจากงานวิจัยภาษาอังกฤษที่มอบหมายให้สืบค้น โดย
การอ่าน (Reading) แล้วให้เขียน (Writing) สรุปกลุ่มคำสำคัญทำเป็น Mind Map (เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจศัพท์เทคนิคเฉพาะทาง สามารถจัดกลุ่มความเชื่อมโยงของศัพท์เฉพาะทางได้)
1. แบบประเมินรายงานการวิเคราะห์สถานการณ์
2. แบบประเมินการนำเสนอ
3. แบบบันทึกสะท้อนคิดของนักศึกษา
4. แบบประเมินทักษะการทำงานเป็นทีม
5. แบบประเมินการใช้ภาษาอังกฤษเทคนิค
6.1 แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติงานในวิชาชีพเฉพาะ วิชาชีพครู การบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการที่มีรูปแบบหลากหลายอย่างบูรณาการและสร้างสรรค์ (หลัก)
-ประเมินจากการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน
- ประเมินจากผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
- แบบประเมินสมรรถนะภาคปฏิบัติ
- แบบประเมินพฤติกรรม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 2 2 1
1 TEDIE931 วิศวกรรมการบำรุงรักษา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 (รอง), 1.2, 1.3(หลัก) 1.4 (รอง) ประเมินจาก - การตรงต่อเวลา - ความรับผิดชอบ - การมีวินัย - การเข้าร่วมกิจกรรม - พฤติกรรมที่แสดงออก ทุกสัปดาห์ 10%
2 2.1 (หลัก), 2.2,2.3 (รอง) 3.1 (หลัก), 3.2 (รอง), 5.2 (รอง), 5.3 (รอง) 1. ประเมินจาก - รายงานและคุณภาพของข้อมูลที่รายงาน - การนำเสนอ - การอภิปราย - การตอบข้อซักถามและทำแบบฝึกหัด - การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน - ทักษะการใช้ภาษา - ทักษะการใช้สื่อและเทคโนโลยี 2. ประเมินจากการทดสอบหลังเรียน 3. ประเมินจากการสอบกลางภาค 4. ประเมินจากการสอบปลายภาค 5. ประเมินจากการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน ทุกสัปดาห์ ทุกสัปดาห์ สัปดาห์ที่ 9 สัปดาห์ที่ 17 ทุกสัปดาห์ 5% 5% 10% 20% 5%
3 4.1.4.2,4.4 (รอง), 4.3 (หลัก) 1. ประเมินจาก - การทำงานเป็นทีม - ตนเองและเพื่อน - ความรับผิดชอบงานกลุ่ม - การจัดสัมมนา 2. ประเมินจากผลการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ทุกสัปดาห์ สัปดาห์ที่ 6-7 และ สัปดาห์ที่ 12-13 5% 10%
4 6.1 (หลัก) ประเมินจากการปฏิบัติตามใบงานที่กำหนด 30%
สุรพงศ์ บางพาน.2555. วิศวกรรมการบำรุงรักษา. เชียงใหม่. เอกสารประกอบการสอน. มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่.
AMCP-706-133, Engineering Design Handbook: Maintainability Engineering Theory
and Practice, Department of Defense, Washington, D.C., 1976.
Ankenbrandt, F.L., ed., Electronic Maintainability, Engineering Publishers, Elizabeth,
New Jersey, 1960.
AMCP 706-134, Engineering Design Handbook: Maintainability Guide for Design,
Department of Defense, Washington, D.C., 1972.
Altman, J.W., et al., Guide to Design of Mechanical Equipment for Maintainability,
Report No. ASD-TR-61-381, U.S. Air Force Systems Command, Wright-Patterson
Air Force Base, Ohio, 1961.
Ankenbrandt, F.L., et al., Maintainability Design, Engineering Publishers, Elizabeth,
New Jersey, 1963.
Blanchard, B.S., Verma, D., and Peterson, E.L., Maintainability, John Wiley & Sons,
New York, 1995.
Blanchard, B.S., Logistics Engineering and Management, Prentice-Hall, Englewood
Cliffs, New Jersey, 1981.
Dhillon, B.S., Engineering Maintainability, Gulf Publishing Co., Houston, Texas,
1999.
Dhillon, B.S., Reliability and Quality Control: Bibliography on General and Specialized
Areas, Beta Publishers, Gloucester, Ontario, Canada, 1993.
Dorf, R.C., ed., Technology Management Handbook, CRC Press, Boca Raton, Florida,
1999.
Dorf, R.C., ed., Technology Management Handbook, CRC Press, Boca Raton, Florida,
1999.
Grant-Ireson, W. and Coombs, C.F., eds., Handbook of Reliability Engineering and
Management, McGraw-Hill, New York, 1988.
Niebel, B.W., Engineering Maintenance Management, Marcel Dekker, New York,
1994
Naresky, J.J., Reliability definitions, IEEE Transac. on Reliability, 19, 1970, 198–20
Niebel, B.W., Engineering Maintenance Management, Marcel Dekker, New York,
1994.
Omdahl, T.P., ed., Reliability, Availability and Maintainability (RAM) Dictionary,
ASQC Quality Press, Milwaukee, Wisconsin, 1988.
Pecht, M., ed., Product Reliability, Maintainability, Supportability Handbook, CRC
Press, Boca Raton, Florida, 1995.
Retterer, B.L. and Kowalski, R.A., Maintainability: a historical perspective, IEEE
Transac. Reliability, 33, 1984, 56–61.
Smith, D.J. and Babb, A.H., Maintainability Engineering, John Wiley & Sons, New
York, 1973..
SAE G-11, Reliability, Maintainability, and Supportability Guidebook, The Society
of Automotive Engineers, Warrendale, Pennsylvania, 1990.
Von Alven, W.H., ed., Reliability Engineering, Prentice-Hall, Englewood Cliffs, New
Jersey, 1964.
MIL-HDBK-472, Maintainability Prediction, Department of Defense, Washington,
D.C., 1966.
MIL-STD-470, Maintainability Program Requirements, Department of Defense,
Washington, D.C., 1966.
MIL-STD-471, Maintainability Demonstration, Department of Defense, Washington,
D.C., 1966.
MIL-STD-721 C, Definitions of Terms for Reliability and Maintainability, Department
of Defense, Washington, D.C.
 
สุวิทย์ ภูลี และ ปารเมศ ชุติมา. 2555. การปรับปรุงงานบำรุงรักษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ
ใช้พลังงานในกระบวนการผลิต วารสารวิจัยพลังงาน ปีที่9 ฉบับที่ 2555/1.
R. B. Faiz and Eran A. Edirisinghe.2009. Decision Making for Predictive Maintenance in
Asset Information Management. Interdisciplinary Journal of Information, Knowledge, and Management Volume 4, 2009.
T.K. Ajiboye, Ph.D.* and G Adedokun, M.Eng. 2010. Maintenance Engineering as a Basic Tool for Maximum Production. The Pacific Journal of Science and Technology http://www.akamaiuniversity.us/PJST.htm, Volume 11. Number 2. November 2010 (Fall).
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมเพื่อดำเนินการดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 การสะท้อนความคิดของนักศึกษา
1.3 เปิดโอกาสให้นักศึกษาสอบถามผลคะแนนในการทำงานเพื่อเรียนรู้ถึงข้อผิดพลาดจะสามารถนำไปปรับปรุงตนเองและเตรียมพร้อมในการสอบต่อไป
1.4 ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบความรู้ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้
1.5 ให้นักศึกษาประเมินวิธีการสอน การจัดกิจกรรมทั้งในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนที่ส่งผลกระทบกับการเรียนรู้ของนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.4 สาขาวิชาตั้งคณะกรรมการประเมินการสอนจากการสังเกตการสอน การสัมภาษณ์นักศึกษา
 
การปรับปรุงการสอน ดำเนินการดังนี้
3.1 การประชุมเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การปรับปรุงรายละเอียดรายวิชา
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.4 ให้ผู้สอนเข้ารับการอบรมกลยุทธ์การสอน การวิเคราะห์ผู้เรียน การวิจัยในชั้นเรียน ในรายวิชาที่มีปัญหาอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมผู้สอนเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและหาแนวทางแก้ไข
 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา โดยมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมของวิชาดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบวิธีสอน ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
5.1 ปรับปรุงประมวลรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ผู้สอนมีการทบทวนการเรียนการสอนทุกครั้งที่ทำการสอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในครั้งถัดไป และมีการประเมินผลการสอนโดยผู้เรียนเป็นผู้ประเมินทุกภาคการศึกษา และนำผลที่ได้มาปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาในปีการศึกษาถัดไป
5.3 ขั้นตอนการทบทวนและวางแผนปรับปรุงรายวิชา
1) พิจารณาผลประเมินการสอนโดยนักศึกษา
2) การทบทวนเนื้อหาที่สอน กลยุทธ์การสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
3) เสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนารายวิชาเสนอต่อประธานหลักสูตร
4) เสนอหัวหน้าสาขาและกรรมการคณะเพื่อวางแผนในการปรับปรุงปีการศึกษาต่อไป