ทฤษฎีสี

Theory of Color

1.  รู้และเข้าใจถึงทฤษฏีสีในงานศิลปะ
2.  รู้และเข้าใจหลักในการจัดวางองค์ประกอบศิลป์
2.  เข้าใจเทคนิคในการวาดภาพรูปทรงต่างๆ การระบายสี การสร้าง
     ปริมาตรและการสร้างพื้นผิว
3.  เข้าใจการนำรูปทรงต่างๆ มาประกอบรวมกันในภาพอย่างถูกต้อง
4.  สามารถสร้างความสัมพันธ์ระหว่างรูปทรงและเรื่องราวได้อย่างถูกต้อง
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนวิชาทฤษฏีสี สำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรศิลปบัณฑิต วิชาเอกทัศนศิลป์ ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับศึกษาทฤษฏีสีและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับทักษะในการเลือกหาเทคนิควิธีการให้เหมาะสมกับการแสดงออกในผลงานศิลปะ รวมทั้งสามารถเข้าใจในวิธีการใช้สีในงานศิลปะ สามารถประยุกต์หรือบูรณาการงานศิลปะร่วมกับศาสตร์ด้านอื่นๆได้และมีแบบเฉพาะตน
ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญและคุณค่าของทฤษฏีสี หลักการใช้ทฤษฏีสีในงานศิลปะ ทดลอง
ปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการใช้ทฤษฏีสีในการนำมาใช้สร้างสรรค์ผลงาน                 
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
ข้อ 1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมและจริยธรรม ข้อ 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ ข้อ 3 มีวินัย ขยันอดทนตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม ข้อ 4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- กำหนดให้มีการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ สอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
- ให้ข้อมูลบุคคลตัวอย่างเช่น ศิษย์เก่า อาจารย์ดีเด่น หรือบุคคลที่น่ายกย่องในวงการสายศิลปะที่ทำให้นักศึกษามองเห็นประโยชน์ของการมีคุณธรรม จริยธรรมทางสังคม
- ให้คำสั่งหรือคำเตือน การปฏิบัติตนให้เป็นสุภาพชนคำนึงถึงเกียรติและศักดิ์ศรีของผู้อื่นในการเรียนร่วมชั้นเรียนกับเพื่อนร่วมชั้น และการกระทำเมื่อต้องอยู่ร่วมสังคมกับผู้อื่นโดยเฉพาะในช่วงระยะเวลาของการเรียนการสอนซึ่งต้องมีการเผยแพร่ผลงานของตนเองสู่สาธารณะชน
- วัดผลจากแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา  ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรมที่ไม่เอาเปรียบเพื่อนร่วมชั้น
- ประเมินพฤติกรรมการรับรู้จากการสอนด้านคุณธรรม จริยธรรม มีนักศึกษาคนใดเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงตนเองและนำข้อมูลหรือคำสั่งและคำเตือนนำไปใช้จริงบ้าง
- วัดผลจากผลงานของนักศึกษาทั้งในระหว่างการทำงานและหลังจากมีผลงานสำเร็จแล้วว่ามีการลอกเลียนผลงานของผู้อื่นมากน้อยในระดับใด มีการยอมรับว่าอ้างอิงและให้เครดิตแก่เจ้าของผลงานตัวจริงหรือไม่
ข้อ 1 มีความรู้ทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา

  ข้อ 2 สามารถคิดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา   ข้อ 3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  ใช้การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน (Work-Integrated Learning)/ CDIO : (Conceiving - Desighing -Implementing –Operating)  เช่นการทำโครงการทางศิลปะ (Project Art) ที่เชื่อมโยงข้อมูลทางศิลปะที่เกี่ยวข้องกับ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง วิศวกรรมหรือวิทยาศาสตร์เป็นต้น
- มุ่งเน้นการเรียนการสอนที่ใช้ทั้งหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงเสมอ
- ถ่ายทอดความรู้ทั้งในหลักการทางวิชาการและมีความรู้การใช้ทักษะในงานสื่อศิลปะสมัยใหม่ ให้เข้าใจในหลักการสามารถคิดวิเคราะห์วางแผนการสร้างสรรค์งานได้อย่างเป็นระบบ
          - ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาทั้งช่วงระยะการสร้างผลงานและการมีผลงานที่สำเร็จแล้ว เช่นการทดสอบย่อย เช่นการทำภาพร่างก่อนขยายผลงานจริง การประเมินจากการนำเสนอผลงานในชั้นเรียน
ข้อ 1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ข้อ 2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
- ใช้ผลงานที่ผ่านมาของนักศึกษาเก่าเป็นตัวอย่างในการทำงานและการถ่ายทอดข้อมูลตัวอย่างผลงานศิลปินที่เกี่ยวข้องต่อการสร้างผลงานทางสื่อศิลปะ วิเคราะห์กรณีศึกษาในกระบวนการสร้างสรรค์งานสื่อศิลปะสมัยใหม่
- การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูลเพื่อนำมาตีความถ่ายทอดเป็นผลงานเฉพาะตน
- ให้คำสั่งหรือโจทย์ โดยให้อภิปรายเดี่ยว ร่วมแสดงความคิดเห็น สามารถคิดวิเคราะห์ วางแผนในการสร้างผลงาน และเข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์ผลงาน
- ประเมินและวัดผลตามสภาพจริงจากผลงานที่สำเร็จแล้วของนักศึกษา  
- สังเกตและวัดผลจากการปฏิบัติงานของนักศึกษาทั้งในระหว่างการทำงานและการนำเสนอผลงานที่สมบูรณ์  และการนำเสนองาน
ข้อ 1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี

  ข้อ 2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ   ข้อ 3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม   ข้อ 4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- สร้างกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี การมีมารยาททางสังคมที่ดีเป็นอย่างไร บทบาทที่ดีของการเป็นเพื่อนร่วมชั้นเรียนโดยคำนึงถึงการเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น และวิธีการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่นอย่างมีมารยาทเป็นเหตุเป็นผล
- ถ่ายทอดวิชาความรู้ในด้านการนำวิชาที่ศึกษามาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม 
- ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองานของตนเอง การยอมรับข้อดีข้อเสียในผลงานและนำไปปรับปรุงตามข้อแนะนำของผู้สอนได้
- การประเมินจากผลงานที่สมบูรณ์เพื่อนำเสนองานนั้นมีประเด็นใดที่เกี่ยวข้องกับการช่วยเหลือทางสังคมและมีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด หรือสอดคล้องกับข้อคิดที่ชวนให้ตระหนักรู้ทางความคิดในประเด็นที่เหมาะสมหรือไม่
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม ๒. ความรู้ ๓. ทักษะทางปัญญา ๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ข้อ 1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมและจริยธรรม ข้อ 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ ข้อ 3 มีวินัย ขยันอดทนตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม ข้อ 4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ข้อ 2 สามารถคิดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา ข้อ 3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง ข้อ 1 มีความรู้ทั้งด้านทฤษฎีและหักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา ข้อ 1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ข้อ 2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ ข้อ 1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี ข้อ 2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ 3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม ข้อ 4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1 40000003 ทฤษฎีสี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. คุณธรรม จริยธรรม ข้อ 1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมและจริยธรรม ข้อ 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ ข้อ 3 มีวินัย ขยันอดทนตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม ข้อ 4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2. ความรู้ ข้อ 1 มีความรู้ทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา ข้อ 2 สามารถคิดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา ข้อ 3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3. ทักษะทางปัญญา ข้อ 1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ข้อ 2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ข้อ 1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี ข้อ 2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ 3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม ข้อ 4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินสรุปทุกชิ้นผลงาน การทํางานและผลงาน การส่งผลงานตามที่มอบหมาย การเข้าชั้นเรียน พฤติกรรมการเรียน อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา
หนังสือภาษาไทย
                             องค์ประกอบศิลป์ / สมภพ จงจิตต์โพธา, กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2554
                             องค์ประกอบของศิลปะ, ชลูด นิ่มเสมอ, กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2531
                             ชีวิตและงานของ อาจารย์เขียน ยิ้มศิริ = The Life and works of Khien Yimsiri /
โดย สมพร รอดบุญ, กรุงเทพฯ : SITCA, 2537
ศิลปะกับสิ่งแวดล้อม = Art and environment : ณ หอศิลปคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ 6-28 กุมภาพันธ์ 2534 กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊พ, 2534
ศิลปวิจารณ์ = Art criticism / สุชาติ เถาทอง, กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2537
หนังสือภาษาอังกฤษ
                                    Art and illusion / E. H. Gombrich, London : Phaidon, 1959.
Art, context and criticism, Kissick, John, Madison, Wis : Brown & Benchmark, c1993.
          แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์งานศิลปะ ทั้งในห้องสมุดและสถานที่จริง
                   -  หอศิลปวัฒนธรรม ต่างๆในประเทศไทย
                   -  วัดต่างๆที่สำคัญต่อประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
                   - แหล่งท่องเที่ยวทางด้านศิลปะที่สำคัญในประเทศไทย
                   - โรงงานอุตสาหกรรมทางด้านศิลปะที่มีชื่อเสียง
                   - แกลลอรี่
                   - บ้านศิลปินแห่งชาติ
                   - พิพิธภัณฑ์
วารสาร ศิลปะทั้งในและต่างประเทศ
          - Art 4D
          - Fine Arts
          - Aesthetica - The Art and Culture Magazine
- ART PAPERS, based in Atlanta, US
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับผลงานสร้างสรรค์ศิลปะ
          http://www.deviantart.com/
http://www.art.net/
www.artinfo.com
http://www.artbabble.org/
http://www.artcyclopedia.com/
http://www.artdaily.org/
http://www.theartsmap.com/
http://www.blackbird.vcu.edu/
http://designobserver.com/
http://www.interartcenter.net/
        - แบบสอบถามการประเมินการเรียนการสอนในรายวิชา
- การสังเกตการณ์โดยผู้สอนประเมินผลรายสัปดาห์และรายเทอม
- สรุปผลการเรียนของนักศึกษา
- การประเมินผลสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
- การสัมมนาเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- โครงการ/กิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน
- กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
          - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
          - สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย