ปฏิบัติการฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร

Physics Laboratory 2 for Engineers

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 สามารถใช้อุปกรณ์พื้นฐานทางฟิสิกส์
1.2 นำความรู้จากรายวิชาฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกรมาปฏิบัติการทดลอง
1.3 สามารถวิเคราะห์และสรุปข้อมูลอย่างมีเหตุผล
1.4 พัฒนาความเชื่อมั่นในตัวเอง โดยให้รู้จักการหาข้อมูลด้วยการปฏิบัติการทดลอง
1.5 มีเจตคติต่อวิทยาศาสตร์โดยใช้ความรู้ทางฟิสิกส์
เพื่อให้เนื้อหารายวิชามีความสมบูรณ์และครอบคลุม ทันสมัยต่อสถานการณ์ปัจจุบัน ซึ่งจะเป็นการพัฒนาความรู้และทักษะเฉพาะด้านของนักศึกษาให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ปฏิบัติการทดลองเกี่ยวกับเทคนิคพื้นฐานทางฟิสิกส์ประกอบด้วยการทดลองทางแม่เหล็กไฟฟ้า วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ อิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน ทัศนศาสตร์และฟิสิกส์ยุคใหม่ โดยเนื้อหาจะสอดคล้องกับวิชาฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร
A laboratory course, dealing with basic experimental techniques in physics consisting of various experiments in electromagnetism, A.C. circuits, fundamental electronics, optics and modern physics. The course contents are accordance with FUNSC103 Physics 2 for Engineers.
1.1.1 มีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักศรีของความเป็นมนุษย์
แบ่งกลุ่มนักศึกษาเพื่อทำการทดลอง บรรยายอธิบายการทดลองพร้อมยกตัวอย่างให้เหมาะสมกับการทดลองให้นักศึกษาทำการทดลอง บันทึกผลการทดลอง สรุปและตอบคำถามท้ายเอกสารการทดลอง ตรวจสอบความถูกต้องและให้คำแนะนำ
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมามาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในด้านเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย  ทำการทดลอง  การทำงานกลุ่ม  และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุป  การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี  2.3.2 ประเมินจากเอกสารการทดลอง  เช่น บันทึกผลการทดลอง  การวิเคราะห์  การสรุปและตอบคำถามในการทดลอง  2.3.3 สอบทฤษฎีและปฏิบัติรายบุคคล
มีทักษะในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ
3.1 สอนการเก็บข้อมูล  วิเคราะห์  และสรุปผลการทดลองโดยใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ 3.2 ให้ค้นคว้าด้วยตัวเองเพื่อตอบ
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ 3.3.2 วัดผลจากการส่งเอกสารการทดลอง 3.3.3 สังเกตจากการแก้ไขปัญหาโจทย์และการนำเสนอผลการทดลอง
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 4.2.1 แบ่งกลุ่มเพื่อทำการทดลอง  4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.3.1 ประเมินจากเอกสารการทดลองที่ส่ง  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 4.3.2  ประเมินจากการตอบคำถามท้ายการทดลอง  
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1 สามารวิเคราะห์ผลการทดลองได้โดยสามารถประมวลผลเปรียบเทียบค่าความคลาดเคลื่อนได้ 5.2.2. นำเสนอการวิเคราะห์ข้อมูลการทดลองได้โดยการใช้กราฟ
5.3.1 ประเมินจากเอกสารการทดลองที่ส่ง 5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการสรุปผลการทดลองและการวิเคราะห์แก้ปัญหาท้ายการทดลอง
สามารถได้เครื่องมือการทดลองได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
สอนบรรยายการใช้เครื่องมือพร้อมมีคู่มือให้ศึกษา
สังเกตการปฏิบัติการการใช้เครื่องมือรายกลุ่มและรายบุคคล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 FUNSC104 ปฏิบัติการฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 รายวิชานี้แบ่งเป็นการทดลองทั้งหมด 10 การทดดลอง หัวข้อการทดลอง การวัดและประเมินผลรายวิชาให้ดำเนินการ งานที่มอบหมาย 8 30
1.1 คู่มือปฏิบัติการฟิสิกส์ 2 สำหรับวิศวกร 1.2 ฟิสิกส์ 2 
2.1 The Feyman lectures on Physics , Richard P. Feynnan , Add : son – Wesley publishing company ,1971. 2.2 Physics scientists & engineers with modern physics Douglas C. Giancoli , Prentice Hall, 2009.
http://www.rmutphysics.com/
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1. การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2. ผลการเรียนของนักศึกษา 3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 2. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ 2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ