ความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์

Computer System Security

เพื่อผลิตบัณฑิตให้สามารถทำหน้าที่เป็นนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ฝ่ายสนับสนุนการปฏิบัติงานทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้ดูแลระบบคอมพิวเตอร์ ที่ปรึกษางานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนบุคลากรคอมพิวเตอร์อื่นๆ ทั้งในหน่วยงานของรัฐ เอกชน และการประกอบอาชีพอิสระเพื่อผลิตบัณฑิตให้สามารถทำหน้าที่เป็นนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ฝ่ายสนับสนุนการปฏิบัติงานทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้ดูแลระบบคอมพิวเตอร์ ที่ปรึกษางานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนบุคลากรคอมพิวเตอร์อื่นๆ ทั้งในหน่วยงานของรัฐ เอกชน และการประกอบอาชีพอิสระ
-
ศึกษาค้นคว้าในหัวข้อเกี่ยวกับทฤษฎี และการประยุกต์ใช้รหัสศาสตร์สมัยใหม่ พื้นฐานที่ใช้ทางรหัสศาสตร์ในการเข้าและถอดรหัสข้อมูลแบบต่างๆ ขั้นตอนวิธีและการควบคุมความผิดพลาดการส่งผ่านข้อมูล ทฤษฎีการป้องกันการใช้ข้อมูลจากผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาต ลายเซ็นดิจิทัล การจัดการกุญแจรหัส  การกำหนดนโยบายความมั่นคง การป้องกันการเข้าถึงสารสนเทศ ประเด็นทางกฎหมายและจริยธรรม และการวางแผนการ ฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องมือทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการป้องกันและจัดการระบบคอมพิวเตอร์
2
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต  1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม  1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ  1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเป็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม  1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจาการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม  1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem based learning และเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา  2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม  3. ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา  4.ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ  2.2 สามารถวิเคราะห์ เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา   2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด   2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์   2.5 รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง   2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ   2.7 มีประสบการณืในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง   2.8 สามารถบูรณาการความรู้สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์นอกจากนี้ นักศึกษาจะมีทักษะทางปัญหาสอดคล้องกับคุณสมบัติของหลักสูตร ดังนี้  (1)คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ  (2)  สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์  (3)   สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ  (4)   สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1.ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี  2. นำเสนอสรุปการอ่านจากการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง  3.วิเคราะห์กรณีศึกษา
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ  3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์    3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ    3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์นอกจากนี้ นักศึกษาจะมีทักษะทางปัญหาสอดคล้องกับคุณสมบัติของหลักสูตร ดังนี้  (1)คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ  (2)  สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์  (3)   สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ  (4)   สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1.สอบกลางภาคและปลายภาค   2.วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน  3.สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 4.1  สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธภาพ  4.2  สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานะการณ์ต่างๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน  4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม  4.4  มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม    4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม    4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา  2.   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่มีอยู่ในปัจจุบัน มาศึกษา  3.การนำเสนอรายงาน
1.   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด  2.  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม  3.   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์  5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวชข้องอย่างสร้างสรรค์  5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม    5.4 สามารถใช้สารสรนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ  2.  นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม  5.2.3 สอนโดยชื่อสื่อการสอน Power Point
1 . ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี  2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5.ทักษะการคิดวิเคราะห์ทางตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี ที่ต้องพัฒนา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 4. 5. 6. 1. 2. 3. 4.
1 BSCCS108 ความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 4 สีปดาห์ที่ 8 สัปดาห์ที่ 12 สัปดาห์ที่ 17 10% 25% 10% 25%
2 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.Cryptography and Network Security 
2.McGRAW-HILL International Edition
- Eric Maiwald and William Sieglein, Security Planning & Disaster Recovery, McGRAW-Hill  -
- พนิดา พานิชกุล, ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศและการจัดการ, สำนักพิมพ์ เคทีพ
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ใช้กลยุทธ์ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนดังนี้  - สังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมสอน ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษาการทวนสอบผลประเมินผลการเรียนรู้
หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้  - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร  - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา จะมีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4