วิศวกรรมความร้อนและของไหล

Thermo-Fluid Engineering

เพื่อศึกษาคุณสมบัติของสารในทางเทอร์โมไดนามิกส์และกลศาสตร์ของไหล ในด้านวิศวกรรมเกษตร
1.1 สามารถอธิบายสมบัติของงานและความร้อน  พื้นฐานการถ่ายเทความร้อนและการอนุรักษ์พลังงาน 1.2 สามารถอธิบายและวิเคราะห์  นิยามพื้นฐาน  ทางเทอร์โมไดนามิกส์และกฎข้อที่หนึ่ง    1.3 สามารถอธิบายและวิเคราะห์สมการสภาวะและกฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์และการนำไปใช้  1.4 สามารถอธิบายและวิเคราะห์วัฎจักรทางอุณหพลศาสตร์  วัฎจักรคาร์โน   เอนโทรปี 1.5 เพื่อศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานทางกลศาสตร์กับพฤติกรรมของของไหล 1.6 เพื่อเรียนรู้วิธีหลักการพื้นฐานและการคำนวณ  ทฤษฎีกลศาสตร์กับของไหล 1.7 เพื่อฝึกทักษะการคิด  การวิเคราะห์ปัญหา  และการนำทฤษฎีต่าง  ๆ   เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในรายวิชาที่ต่อเนื่อง
ศึกษาคุณสมบัติของสารในทางเทอร์โมไดนามิกส์และกลศาสตร์ของไหล สถิตศาสตร์ของไหล กฎทางเทอร์โมไดนามิกส์ พลังงาน กฎการอนุรักษ์พลังงาน วัฏจักรคาร์โนด สมการพลังงานและเบอร์นูลีสมการการสูญเสียของการไหลในท่อและวัดอัตราการไหลของของไหลภายในท่อ Study of thermodynamic and fluid mechanics, statistic, a law of thermodynamics, energy , energy conversion and carnot cycle, Energy equation and Bernoulli's equation, equation of continuity and motion, similitude and dimensional analysis, steady incompressible flow.
วันอังคาร 17.00 – 18.00 น. และวันพุธ 15.00 – 17.00 น.
1. มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 2. แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 4. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 5. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 2. นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม 3. มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น 
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม 2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร 3. ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ 4. พฤติกรรมระหว่างการทำงานกลุ่ม การนำเสนอและอภิปราย โดยผู้สอนอาจซักถามประเด็นด้านจริยธรรม
1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 2. มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ 4. รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
1. ใช้การสอนบรรยายแบบ Active Learning โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมและหาทางแก้ไขปัญหาด้วยตนเองหรือภายในกลุ่ม โดยมีอาจารย์เป็นที่ปรึกษาเบื้องต้น 2. การสอนแบบ Hybrid learning การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) 3. การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต
1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ 4. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
1. มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ 2. สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ  เช่น การเกิดความร้อนในโรงเรือน การให้น้ำพืช การควบคุมตัวแปรต่างๆ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. มอบหมายงานกลุ่มเพื่อศึกษากรณีศึกษาพร้อมอภิปราย 2. การอภิปรายกลุ่มจากผลการศึกษาและดูงาน 3. ให้นักศึกษามีโอกาสได้สัมผัสกับงานจริง
1. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 2. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
1. มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม 2. สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ 4. สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. การกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม 2. การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น
1. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน 2. การตอบข้อซักถามของอาจารย์ และสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
1. สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 2. สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 4. มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด 5. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 6. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 7. สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม 2. เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลาย สถานการณ์
1. จากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฏี 2. จากการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติ ที่เกี่ยวข้อง
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1. แบ่งกลุ่มนักศึกษาในภาคปฏิบัติที่แทรกอยู่ในชั้นเรียน (modeling) 2. อธิบายวิธีการปฏิบัติ วิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่เหมาะสม และข้อควรระวังใช้การใช้เครื่องมือ
1. ประเมินความสำเร็จของงาน ตามระยะเวลาที่กำหนดอย่างเหมาะสม 2. ประเมินการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ถูกต้องและเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 1.
1 ENGAG102 วิศวกรรมความร้อนและของไหล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 1.5, 4.1, 4.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-8, 10-16 5%
2 1.3, 1.5, 2.1, 2.3, 3.4, 4.1, 4.2, 5.2, 5.6 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 2.1, 2.3, 3.4 การทดสอบย่อย 4 ครั้ง 3,5,11,13 40%
4 2.1, 2.3, 3.4 การสอบกลางภาค 8 15%
5 1.3, 1.5, 2.1, 2.3, 3.4, 4.1, 4.2, 5.2, 5.6 การนำเสนองาน/การรายงาน 7 20%
6 2.1, 2.3, 3.4 การสอบปลายภาค 17 15%
รศ.วินัย  ศรีอำพร  ตำรา  วิชา  กลศาสตร์ของไหล  
1. ภัทรพรรณ  ประศาสน์สารกิจ.  เทอร์โมไดนามิกส์วิศวกรรมเคมี.  สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  พ.ศ.2545 2. สุรวุฒิ  ประดิษฐานนท์ “ กลศาสตร์ของไหลเบื้องต้น”  บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่นจำกัด  พ.ศ.2531 3. B . G . Kyle .  Chemical And Process Thermodynamics .  New Jersey : Prentice Hall , Inc ., 1999. 4. James E . A .  John and William L . Haberman  1988  , Inroduction to Fluid Mechanics , Prentice - Hall International ,  Inc .  5. J . Winnick ,  Chemical Engineering Thermodynamics :An Introduction toThermodynamics for Undergraduate Engineering Students .  Canada: John     Wiley & Sons , Inc .,  1997. 6. J . M . Smith ,  H . C . Van Ness and M . M . Abbott .  Introduction to Chemical Engineering Thermodynamics .  Singapore : McGraw - Hill , Inc .,  6  th ed .,          2001. 7. Linsley ,  R . K .  and Franzini ,  J . B .   1972  ,  Water - Resource Engineering  , McGraw – Hill Boook Company 8. M . D . Koretsky .  Engineering and Chemical Thermodynamics .  USA : John Wiley & Sons , Inc .,  2004. 9. Mironer , A .   1979  ,  Engineering Fluid Mechanics ,  Mc - Graw - Hill Book Company 10. Munson ,  b . R , et . al .   1990,Fundamentals of Fluid Mechanics ,  John & Sons , Inc . 
ข้อมูลทางอินเตอร์เนต
1.1 แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา 1.2 การทาแบบประเมินการสอนโดยผู้เรียนที่ผู้สอนจัดทาขึ้นเพื่อเปิดโอกาศให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็น 1.3 ข้อเสนอแนะจากช่องทางที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลประเมินจากความคิดเห็นของนักศึกษา 2.3 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.4 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบรายงานวิธีการให้คะแนนสอบและการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง