เทคโนโลยีแป้ง

Starch Technology

รู้และเข้าใจการสังเคราะห์และองค์ประกอบของแป้ง รู้และเข้าใจวิธีการสกัดแป้งจากแหล่งต่างๆ รู้และเข้าใจการดัดแปรแป้งด้วยวิธีต่างๆ   รู้และเข้าใจโครงสร้างและสมบัติของแป้งและแป้งดัดแปร  สามารถอธิบายการวิเคราะห์ปริมาณและคุณภาพของแป้งได้ รู้และเข้าใจการใช้ประโยชน์จากแป้งในอุตสาหกรรมอาหาร และการนำผลพลอยได้จากส่วนเหลือทิ้งในกระบวนการผลิตแป้งใช้ประโยชน์ เพื่อให้นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในหลักการของการผลิตแป้งในระดับอุตสาหกรรมที่ถูกต้อง สามารถเรียนรู้ได้อย่างมีระบบ เข้าใจได้ง่ายมากขึ้น
2.2 เพื่อเป็นพื้นฐานสำหรับการนำไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร หลังจากการจบการศึกษาไปแล้ว
2.3 เพื่อปรับปรุงรายละเอียดของวิชาให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ปัจจุบัน
2.4 เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากระทรวงศึกษาธิการ
ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของแป้งและสตาร์ช โครงสร้างและสมบัติทางเคมีกายภาพของแป้งและสตาร์ชธรรมชาติการผลิตแป้งและสตาร์ชจากวัตถุดิบชนิดต่าง ๆการดัดแปรแป้งและสตาร์ช ลักษณะโครงสร้างและสมบัติทางเคมีกายภาพของแป้งดัดแปรการใช้ประโยชน์จากแป้งและสตาร์ชในอุตสาหกรรมอาหาร และการใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้ในกระบวนการผลิตแป้ง
    3.1 วันจันทร์  เวลา 08.00 – 10.00  น. และวันพฤหัสบดี เวลา 13.00 – 16.00  น. 
    3.2  e-mail; chamsupawadee@gmail.com  เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาวิชาชีพ
1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 
1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.5  เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. เช็คชื่อนักศึกษาเข้าชั้นเรียนและการแต่งกายของนักศึกษาตามสถานการณ์ที่เป็นจริง
2. มอบหมายให้นักศึกษาทำรายงานบทปฏิบัติการ
1. ประเมินจำนวนผู้เข้าชั้นเรียนอย่างสม่ำเสมอและการแต่งกายตลอดภาคเรียนและให้คะแนนจิตพิสัย
2. ประเมินการส่งรายงานตามระยะเวลาที่กำหนดและคุณภาพของรายงานตามที่ได้รับมอบหมาย
3. ไม่ทุจริตในการสอบ
2.1 ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
1. บรรยายเกี่ยวกับ การสังเคราะห์และองค์ประกอบของแป้ง ความหมายและความสำคัญของแป้งและสตาร์ช การผลิตแป้งจากวัตถุดิบชนิดต่าง ๆ การดัดแปรแป้ง ลักษณะและสมบัติทางโครงสร้างและเคมีกายภาพของแป้งธรรมชาติและแป้งดัดแปรการเปลี่ยนแปลงทางด้านคุณภาพ การเสื่อมเสียและการเก็บรักษาแป้ง การวิเคราะห์ปริมาณและคุณภาพของแป้ง การใช้ประโยชน์จากแป้งในอุตสาหกรรมอาหาร ผลพลอยได้และการใช้ประโยชน์จากส่วนเหลือทิ้งในกระบวนการผลิตแป้ง
2. มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าความรู้ใหม่หรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องทางเทคโนโลยีแป้ง
3. มีวิทยากรพิเศษหรือผู้เชี่ยวชาญหรือมีการศึกษาดูงานนอกสถานที่
1. สอบข้อเขียนแบบอัตนัยและ/หรือแบบปรนัย
2. ไม่ทุจริตในการสอบและมีผลการเรียนแต่ละหน่วยผ่านร้อยละ 50
3. ประเมินผลการนำเสนอความรู้ใหม่หรืองานวิจัยทางเทคโนโลยีเนื้อสัตว์เช่น การตอบข้อซักถามความเข้าใจและการประยุกต์ความเข้าใจกับวิชาอื่นๆ
3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์
3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ  เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
 1. แบ่งกลุ่มปฏิบัติให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์แต่ละบทปฏิบัติการ
2. นำผลจากการปฏิบัติมาวิจารณ์ร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
1. ประเมินทักษะปฏิบัติตามขั้นตอนและเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
2. สามารถแก้ปัญหาจากสภาวะจริงในระหว่างปฏิบัติ
3. ประเมินคุณภาพผลิตภัณฑ์สุดท้ายหรือผลงานจากการปฏิบัติ
4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม
4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. แบ่งกลุ่มนักศึกษาในภาคปฏิบัติ
2. มอบหมายงานทั้งรายบุคคลและกลุ่ม    
3. อธิบายข้อปฏิบัติในการเข้าชั้นเรียนทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ
1. ภาคปฏิบัติทำงานเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด
2. มีจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ วัตถุดิบ เรียบร้อย และรักษาความสะอาดบริเวณที่ปฏิบัติหรือบริเวณที่ใช้งานร่วมกัน
3. สังเกตและประเมินการทำงานร่วมกับผู้อื่นจากการส่งรายงานบทปฏิบัติการ
 5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.7 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษ
1. อธิบายวิธีการคำนวณสูตรในการทำผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์
2. มอบหมายงานค้นคว้างานวิจัยใหม่ๆ ทางเทคโนโลยีเนื้อสัตว์ที่มีการตีพิมพ์ในระดับชาติหรือนานาชาติ และมีการนำเสนอในชั้นเรียน
1. สังเกตการคำนวณสูตรและการคำนวณหาร้อยละการผลิตที่ถูกต้อง
2. ประเมินผลการนำเสนอความรู้ใหม่หรืองานวิจัยทางเทคโนโลยีเนื้อสัตว์เช่น การใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสม ความต่อเนื่องของเนื้อหาที่นำเสนอ การใช้สื่อที่เหมาะสมนำเสนอ
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1. แบ่งกลุ่มนักศึกษาในภาคปฏิบัติ
2. อธิบายวิธีการปฏิบัติ วิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่เหมาะสม และข้อควรระวังใช้การใช้เครื่องมือ
1. ประเมินความสำเร็จของงาน ตามระยะเวลาที่กำหนดอย่างเหมาะสม
2. ประเมินการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ถูกต้องและเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ที่ต้องได้รับ 3.. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 6. ด้านทักษะปฏิบัติ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาวิชาชีพ 1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต 1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 2.1 ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ 2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ 3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา 4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ 4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด 5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.7 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษ 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1 BSCFT120 เทคโนโลยีแป้ง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 3.1, การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
2 1.1,1.3,2.1, 2.3, 3.1, 3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 และ 17 60%
3 1.1 - 1.4 2.1, 2.3, 3.1, 3.2, ปฏิบัติการทดลอง, รายงานการทดลอง ทุกสัปดาห์ 20%
4 1.3, 1.4, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 4.1-4.3, 5.1- 5.3 งานที่ได้รับมอบหมาย ทุกสัปดาห์ 10%
กล้าณรงค์ ศรีรอต และ เกื้อกูล ปิยะจอมขวัญ. 2543. เทคโนโลยีของแป้ง. พิมพ์ครั้งที่ 2. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 292 หน้า
AOAC. 2005. Official Method of Analysis. The Association of Official Analytical Chemists. 16th ed.,Washington D.C., USA.
Hoseney, R.C. and Lineback, D.R. 1996. Methods of synthesis and characterization. In R.C.Hoseney (Ed.), AACC Short course on “Starch: Structure, Properties, and Food Uses
Jacobs, H. and Delcour, J.A. 1998. Hydrothermal modifications of granular starch, with retention of granular structure: A review. J Agri. Food Chem. 46(8): 2895-2905.
BeMiller, and E.F. Paschall (Eds.). Starch: Chemistry and Technology. 2nd Ed. Academic Press Inc., Florida. pp. 311-388.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
-
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 
 
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ