วิศวกรรมอาหาร 1

Food Engineering 1

1  มีความรู้ความเข้าใจในหลักการพื้นฐานด้าน สมดุลมวลและพลังงาน อุณหพลศาสตร์  การถ่ายโอนความร้อนและมวลสาร กลศาสตร์ของไหล การแช่เย็น และการแช่เยือกแข็ง 2  สามารถวิเคราะห์และคำนวณการทำสมดุลมวลและพลังงาน อุณหพลศาสตร์  การถ่ายโอนความร้อนและมวลสาร กลศาสตร์ของไหล การแช่เย็น และการแช่เยือกแข็ง 3  สามารถบูรณาการองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมอาหารกับองค์ความรู้อื่นในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารได้อย่างเหมาะสม
เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากระทรวงศึกษาธิการ และเพื่อปรับปรุงรายละเอียดของวิชาให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์
ความรู้เบื้องต้นในงานวิศวกรรมอาหาร อุณหพลศาสตร์ สมดุลมวล และพลังงาน การถ่ายโอนความร้อน และมวลสาร กลศาสตร์ของไหล  การแช่เย็น และการแช่เยือกแข็ง   Introduction to food engineering; thermodynamics;  mass and energy balance;  heat transfer;  mass transfer; fluid mechanics; chilling and freezing
1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 16.00 - 16.30 น. ห้องประชุม ตึกวิทยาศาสตร์การอาหาร สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร โทร...  089-5545887 2  e-mail; rattanapol_p@yahoo.com เวลา 17.00 - 18.00 น. ทุกวัน
1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต 3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) 3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)  4. การสอนในห้องปฏิบัติการ   5. การสอนแบบ  Problem Based Learning     6. การสอนแบบสาธิต   7. การสอนแบบบรรยาย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.การเขียนบันทึก 3. โครงการกลุ่ม 4.การสังเกต 5.การสัมภาษณ์ 6.การนำเสนองาน 7.ข้อสอบอัตนัย 8.การสัมภาษณ์ 9.ข้อสอบปรนัย 10.การประเมินตนเอง 11.การประเมินโดยเพื่อน 12. อื่น ๆ โปรดระบุ  เน้นการใช้วิธีการวัดหลากหลายตามเนื้อหาและกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการประเมินต้องสะท้อนให้เห็นความก้าวหน้าของผู้เรียน
1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ 4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
1. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) 3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)  4. การสอนในห้องปฏิบัติการ   5. การสอนแบบ  Problem Based Learning     6. การสอนแบบสาธิต   7. การสอนแบบบรรยาย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.การเขียนบันทึก 3. โครงการกลุ่ม 4.การสังเกต 5.การสัมภาษณ์ 6.การนำเสนองาน 7.ข้อสอบอัตนัย 8.การสัมภาษณ์ 9.ข้อสอบปรนัย 10.การประเมินตนเอง 11.การประเมินโดยเพื่อน 12. อื่น ๆ โปรดระบุ  เน้นการใช้วิธีการวัดหลากหลายตามเนื้อหาและกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการประเมินต้องสะท้อนให้เห็นความก้าวหน้าของผู้เรียน
1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ 2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ 3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ  เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
1. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) 3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)  4. การสอนในห้องปฏิบัติการ   5. การสอนแบบ  Problem Based Learning     6. การสอนแบบสาธิต   7. การสอนแบบบรรยาย 
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.การเขียนบันทึก 3. โครงการกลุ่ม 4.การสังเกต 5.การสัมภาษณ์ 6.การนำเสนองาน 7.ข้อสอบอัตนัย 8.การสัมภาษณ์ 9.ข้อสอบปรนัย 10.การประเมินตนเอง 11.การประเมินโดยเพื่อน 12. อื่น ๆ โปรดระบุ  เน้นการใช้วิธีการวัดหลากหลายตามเนื้อหาและกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการประเมินต้องสะท้อนให้เห็นความก้าวหน้าของผู้เรียน
1  มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม 2  สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ 4  สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) 3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)  4. การสอนในห้องปฏิบัติการ   5. การสอนแบบ  Problem Based Learning     6. การสอนแบบสาธิต   7. การสอนแบบบรรยาย
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.การเขียนบันทึก 3. โครงการกลุ่ม 4.การสังเกต 5.การสัมภาษณ์ 6.การนำเสนองาน 7.ข้อสอบอัตนัย 8.การสัมภาษณ์ 9.ข้อสอบปรนัย 10.การประเมินตนเอง 11.การประเมินโดยเพื่อน 12. อื่น ๆ โปรดระบุ  เน้นการใช้วิธีการวัดหลากหลายตามเนื้อหาและกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการประเมินต้องสะท้อนให้เห็นความก้าวหน้าของผู้เรียน
1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 4 มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด 5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 7 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
ใช้  Power point   มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.การเขียนบันทึก 3. โครงการกลุ่ม 4.การสังเกต 5.การสัมภาษณ์ 6.การนำเสนองาน 7.การประเมินตนเอง 8.การประเมินโดยเพื่อน 9. อื่น ๆ โปรดระบุ  เน้นการใช้วิธีการวัดหลากหลายตามเนื้อหาและกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการประเมินต้องสะท้อนให้เห็นความก้าวหน้าของผู้เรียน
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
ปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการ หรือการใช้เครื่องมือ การวิจัย เป็นทักษะทางปัญญา
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.การเขียนบันทึก 3. โครงการกลุ่ม 4.การนำเสนองาน 5. วัดหลากหลายตามเนื้อหาและกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการประเมินต้องสะท้อนให้เห็นความก้าวหน้าของผู้เรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 1.
1 BSCFT011 วิศวกรรมอาหาร 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 1.5, 4.1, 4.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-8, 10-16 5%
2 1.3, 1.5, 2.1, 2.3, 3.4, 4.1, 4.2, 5.2, 5.6 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 2.1, 2.3, 3.4 การทดสอบย่อย 4 ครั้ง 3, 5, 11, 13 40%
4 2.1, 2.3, 3.4 การสอบกลางภาค 8 15%
5 1.3, 1.5, 2.1, 2.3, 3.4, 4.1, 4.2, 5.2, 5.6 การนำเสนองาน/การรายงาน 16 20%
6 2.1, 2.3, 3.4 การสอบปลายภาค 17 15%
1. วิไล รังสาดทอง. 2547. เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร. พิมพ์ครั้งที่ 4 บริษัท เท็กซ์แอนด์เจอร์นัล  พลับลิเคชั่น จำกัด, กรุงเทพฯ. 2. รุ่งนภา พงศ์สวัสดิ์มานิต. 2535. วิศวกรรมการแปรรูปอาหาร : การถนอมอาหาร พิมพ์ครั้งที่ 1 สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ.  3. รุ่งนภา พงศ์สวัสดิ์มานิต. 2547. วิศวกรรมอาหาร :หน่วยปฏิบัติการในอุตสาหกรรม พิมพ์ครั้งที่ 3 สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.  4. รุ่งนภา พงศ์สวัสดิ์มานิต. 2549. การทดลองทางวิศวกรรมกระบวนการสำหรับอุตสาหกรรมเกษตรพิมพ์ครั้งที่ 1 สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 5. Fellows, P.1993. Food processing technology : Principles and practice. Ellis Horwood , New York.
ประกิต ทิมขำ. 2557. เอกสารคำสอนวิชาวิศวกรรมอาหาร
http://www.foodnetworksolution.com
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.2 การทำแบบประเมินการสอนโดยผู้เรียน ที่ผู้สอนจัดทำขึ้นเพื่อเปิดโอกาศให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็น 1.3 ข้อเสนอแนะจากช่องทางที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลประเมินจากความคิดเห็นของนักศึกษา 2.3 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.4 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง