คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า

Electrical Engineering Mathematics

ศึกษาเกี่ยวกับจำนวนเชิงซ้อน และการประยุกต์ใช้จำนวนเชิงซ้อนกับวงจรไฟฟ้า การวิเคราะห์เวกเตอร์ การแปลงลาปลาซตรง และการแปลงลาปลาซผกผัน การหาฟังก์ชันถ่ายโอน การประยุกต์ใช้การแปลงลาปลาซกับวงจรไฟฟ้า และการแก้สมการอนุพันธ์ การหาอนุกรมฟูเรียร์ของสัญญาณคาบ การแปลงฟูเรียร์แบบตรงและผกผัน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานในการแก้ปัญหาทางวิศวกรรมไฟฟ้า สามารถวิเคราะห์สัญญาณในโดเมนเวลาและความถี่ เพื่อวิเคราะห์คุณลักษณะของสัญญาณ สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า
ศึกษาเกี่ยวกับการใช้งานของตัวแปรเชิงซ้อน การวิเคราะห์เวกเตอร์และการประยุกต์ใช้ ทฤษฎีของอนุกรมฟูเรียร์ การแปลงฟูเรียร์ และการนำไปใช้วิเคราะห์รูปคลื่นไฟฟ้า ทฤษฎีการแปลงลาปลาซ และการนำไปใช้วิเคราะห์วงจรไฟฟ้า
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 1
1 32121210 คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 1,2 บทที่ 3,4,5 บทที่ 6 บทที่ 6,7 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 5 8 13 17 10% 25% 10% 25%
1.1 คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า เล่ม 1,2,3
2.1 ใบความรู้ทฤษฎีคณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า
2.2 ใบเฉลยแบบฝึกหัด
2.3 ใบความรู้ตาราง และสูตรช่วยคำนวณ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์ความตั้งใจเรียนของผู้เรียน การถาม-ตอบ
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย ผลจากการทำแบบฝึกหัด และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนน ผลการเรียน ผลงานของนักศึกษา
4.2 การทวนสอบวิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี ตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ