เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม

Engineering Economy

1. รู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
2.  เข้าใจการหาดอกเบี้ย มูลค่าปัจจุบัน และมูลค่าเทียบเท่ารายปี
3. เข้าใจการหาผลตอบแทน ผลประโยชน์ต่อการลงทุน
4. เข้าใจการหาค่าเสื่อมราคา  และการทดแทนสินทรัพย์
5. วิเคราะห์เงินเฟ้อ และการตัดสินใจในโครงการ
6. เห็นความสำคัญของหลักเศรษฐศาสตร์ทางวิศวกรรม
ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม การคำนวณมูลค่าปัจจุบัน การคำนวณมูลค่ารายปี การคำนวณดอกเบี้ยที่แท้จริงและดอกเบี้ยที่ระบุ การทดแทนทรัพย์สิน การหาอัตราผลตอบแทน การวิเคราะห์โครงการ เศรษฐศาสตร์นำไปใช้ในงานวิศวกรรม การคำนวณต้นทุนแบบต่างๆ ผลกระทบของเงินเฟ้อ การคิดค่าเสื่อมราคา การคำนวณภาษีรายได้ การวิเคราะห์ทางเลือกในการตัดสินใจลงทุน ภาษีที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ และการวิเคราะห์งบการเงินเพื่อการตัดสินใจลงทุน และการวิเคราะห์โครงการ
ศึกษาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์เพื่อใช้ในงานวิศวกรรม ต้นทุน การคำนวณดอกเบี้ย การหามูลค่าปัจจุบัน และมูลค่ารายปี การหาอัตราผลตอบแทน การหาผลประโยชน์ต่อเงินลงทุน หาค่าเสื่อมราคา ภาษีรายได้ จุดคุ้มทุน การทดแทนทรัพย์สิน การวิเคราะห์เงินเฟ้อ และการวิเคราะห์การตัดสินใจในโครงการต่างๆ การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน การประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อวิเคราะห์งานด้านเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม
3.1 อาจารย์ประจำวิชาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ
 
4.1.1 ผลการเรียนรู้ เมื่อนักศึกษาเรียนสิ้นสุดรายวิชานี้ นักศึกษาจะมีคุณลักษณะดังนี้
 4.1.1.1 มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต และตรงต่อเวลา
 4.1.1.2 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขปัญหาได้
  4.1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
4.1.2.3  บรรยาย พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา
4.1.2.4  อภิปรายกลุ่มโดยให้นักศึกษาหากรณีตัวอย่างในการลงทุนธุรกิจขนาดเล็กโดยแบ่งกลุ่มๆละไม่เกิน 3 คน
4.1.3.1 ประเมินพฤติกรรมที่เข้าเรียนและรายงานที่ได้รับมอบหมาย การแต่งกายของนักศึกษา ความตั้งใจเรียน
         ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ในงานวิศวกรรมได้แก่ต้นทุน การคำนวณดอกเบี้ย การหามูลค่าปัจจุบัน และมูลค่ารายปี การหาอัตราผลตอบแทน การหาผลประโยชน์ต่อเงินลงทุน หาค่าเสื่อมราคา ภาษีรายได้ จุดคุ้มทุน การทดแทนทรัพย์สิน การวิเคราะห์เงินเฟ้อ และการวิเคราะห์การตัดสินใจในโครงการต่างๆ การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน การประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อวิเคราะห์งานด้านเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม
 บรรยาย ยกตัวอย่าง นำเสนอกรณีศึกษา
งานที่มอบหมาย สอบกลางภาคและปลายภาค ความสนใจในการเรียน
พัฒนาแนวความคิดให้เป็นระบบ และมีแบบแผน มีการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาอย่างเป็นเหตุเป็นผล
งานที่มอบหมายเป็นแบบฝึกหัดให้ทำเป็นรายบุคคล
งานที่มอบหมาย สอบกลางภาคและปลายภาค
พัฒนาทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
ซักถามและให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดร่วมกัน
งานที่ได้รับมอบหมาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1 การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค 9 17 25 25
2 2 ทดสอบย่อยและงานมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40
3 3 การเข้าชั้นเรียน ความตั้งใจเรียน การมีส่วนร่วมร่วมกันในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
1.  ไพบูลย์ แย้มเผื่อน.  เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม.  กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น,2542.  312  หน้า
2.  พัชราภรณ์  เนียมมณี.  เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม(Engineering Economics).  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด,  ม.ป.ป.
3.  วันชัย ริจิรวนิช.  และ ชอุ่ม พลอยมีค่า. เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม.  พิมพ์ครั้งที่ 6.  กรุงเทพฯ : จุฬา ลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.  350 หน้า
4.  มนวิภา อาวิพันธุ์. เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม Engineering Economy . เชียงใหม่. สำนักพิมพ์ มิ่งขวัญ. 2549
5. Willium G. Sullivan; Engineering Economy 12th Edition; U.S.A. : Prentice-Hall, Inc.2003       
6. Leland T. Blank.,  and Anthony J. Tarquin.  Engineering Economy 4th.  Singapore : McGraw-Hill    International Edition.  1998
ไม่มี
เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องในแต่ละหัวข้อ
7.1.1 แบบประเมินอาจารย์ผู้สอนและแบบประเมินนักศึกษา
7.2.1  การสังเกตจากการเรียนการสอน
7.2.2  ผลการสอบ
7.3.1  การปรับปรุงสื่อการสอน
7.4.1  การประเมินผลการเรียนของนักศึกษาโดยออกระดับผลการเรียนให้กับนักศึกษาตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้
7.4.2  รายงานผลการเรียนต่อฝ่ายทะเบียนและวัดผ
7.5.1  ปรับปรุงแนวการสอนจากผลการเมินของนักศึกษาทุกๆปี