โรคพืชและการป้องกันกำจัด

Plant Diseases and Their Control

1. รู้ความหมาย ความสำคัญและความเป็นมาของวิชาโรคพืช
2. เข้าใจเกี่ยวกับโรคพืช การจำแนกลักษณะอาการและการแพร่กระจายของโรค
3. รู้ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและวิธีการแพร่ระบาดของโรค
4. เข้าใจและแก้ปัญหาโรคพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจได้
5. มีทักษะการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ทางโรคพืช การเก็บตัวอย่างโรคพืช และการวินิจฉัยโรค
6. มีเจตคติที่ดีต่อการศึกษาค้นคว้าและติดตามความก้าวหน้าทางด้านโรคพืช
เพื่อเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพทางพืชศาสตร์ ให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการเกิดโรคพืช สาเหตุ การแพร่ระบาดของโรค โรคพืชที่สำคัญในพืชเศรษฐกิจ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับคสามรู้ทั่วไปของโรคพืช ลักษณะอาการโรคพืชและสิ่งที่แสดงให้เห็นกระบวนากรเกิดโรคพืช โรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา โรคพืชที่เกิดจากแบคทีเรีย โรคพืชที่เกิดจากไส้เดือนฝอยและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ โรคพืชที่เกิดจากเชื้อไวรัสและไฟโตพลาสมา โรคพืชที่เกิดจากสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม หลักและวิธีการจัดการโรคพืช
1 ชั่วโมง
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรม
š1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
˜1.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม
- มอบหมายงานให้ทำส่งโดยกำหนดระยะเวลาที่เหมาะสมในการส่งงาน
- ให้มีการนำเสนองานค้นคว้าตามกลุ่มกิจกรรมดูความร่วมมือในกลุ่มและการอ้างอิงของเอกสารที่ค้นคว้า
- ในการสอบย่อยสังเกตพฤติกรรมในการสอบทุกครั้ง
- อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง  ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ  การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น และรับฟังความคิดเห็นของ     นักศึกษา การเคารพ และให้เกียรติแก่อาจารย์ เป็นต้น
- การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน และ        การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรมที่กำหนด 
- ความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
- ประเมินความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
- ความรับผิดชอบหน้าที่ของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
- จากผลงานที่ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นหรือมีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน
- จากพฤติกรรมในการทำงานในชั้นเรียนที่ไม่เลือกปฏิบัติและการไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
2.  ด้านความรู้
˜2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความความรู้
š 2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้
- ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยาย ร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม  การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต  ในระหว่างเรียนเป็นต้น
- มอบหมายงานค้นคว้า
- ค้นคว้าและนำเสนอเป็นรายกลุ่ม
- ดูงานนอกสถานที่
- ทดสอบย่อย
- การสอบกลางภาค และสอบปลายภาค
- ทำรายงานรายบุคคลและนำเสนอรายงานรายกลุ่ม
3.  ด้านทักษะทางปัญญา
š3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
˜3.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
- การสอนโดยใช้ปัญหาจากตัวอย่างจริงเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
- ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียน และการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา จากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความ  น่าเชื่อถือและความเป็นไปได้   
- มอบหมายงานกลุ่ม
- ประเมินจากการเก็บตัวอย่างจริงมาศึกษาในห้องปฏิบัติการ ในแปลงเกษตรกร
- นำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- การสอบปากเปล่า
- การสอบย่อย สอบกลางภาค และปลายภาค
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
š4.1  ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ
˜4.2  กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ
- จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาอื่นและบุคคลภายนอก
- มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
- กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
- ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
- ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล       และด้านความรับผิดชอบ
- สังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรม
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
š5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
˜5.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- นำเสนอรายงานโดยใช้  Power point  
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
- การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ส่งงานทั้งรายงานและทางอิเลคทรอนิค
-ประเมินทักษะการใช้เครื่องมือในรายวิชาให้เหมาะสมกับงาน
- ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
- ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ตามหัวข้อ 8 17 60%
2 -ประเมินผลงานการทำ งานกลุ่ม การนำเสนอหน้าชั้นเรียน -การส่งงานตามที่มอบหมายรายบุคคล -ประเมินผลงานการทำ งานจากรายงาน พร้อมนำ เสนอหน้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 -การเข้าชั้นเรียน(บันทึกเวลาการมาเรียน) -สังเกตพฤติกรรมจากการมีส่วนร่วมในชั้น เรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
กรมวิชาการเกษตร. 2552. ระบบการจัดการ คุณภาพ : GAP พืชตระกูลกะหล่ำ. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,
          กรุงเทพฯ. 42 หน้า.
คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา. 2535  ปฐพีวิทยาเบื้องต้น. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม.
จิตรยา จารุจิตร์. 2552. การควบคุมโรคเหี่ยวของ มะเขือเทศโดยใช้สารสกัดจากพืชและธาตุ ซิลิกอนในเรือนทดลอง. วิทยานิพนธ์
          ปริญญา โท, คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ชลิดา เล็กสมบูรณ์.   2554.  โรคพืชและการวินิจฉัย.  ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กำแพงแสน           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.  269 หน้า.
พิบูลย์ มงคลสุข.  2530.  โรคพืชวิทยา.   มหาวิทยาลัยราคำแหง, กรุงเทพฯ.  354 หน้า.
สรวงสรรค์ เนียมแจ้ง. 2549. การคัดเลือกและ เพิ่มประสิทธิภาพของยีสต์ปฏิปักษ์ในการ ควบคุมโรคราสีเขียว (Penicillium  
         digitatum) บนผลส้มพันธุ์สายน้ำผึ้ง. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. 76
         หน้า.
สายวรุณ มาตรวิจิตร ชัยรัตน์ เตชวุฒิพร เนต รนภิส เขียวขำ เฉลิมชัย วงษ์อารี และ ศิริชัย กัณยาณรัตน์. 2554. ผลของสาร สกัด
        หยาบจากพืชวงศ์ขิงต่อการยับยั้งการ เจริญของเชื้อ Pennicillum digitatum Sacc. ว. วิทยาศาสตร์เกษตร 42(3): 303-
        306.
สืบศักดิ์ สนธิรัตน.  2543.  การจัดการศัตรูพืช. วี.บี.บุ๊คเซ็นเตอร์. กรุงเทพฯ. 189 หน้า.     
สุดฤดี ประเทืองวงศ์, สุพจน์ กาเซ็ม, จารุวัฒน์ เถาธรรมพิทักษ์, วิลาวรรณ์ เชื้อบุญ, ติยากร ฉัตร นภารัตน์ และดุสิต อธินุวัฒน์.
        2552. คู่มือ การเกษตร เรื่อง การใช้จุลินทรีย์จัดการโรค และแมลง เพื่อการผลิตข้าวและพืชผัก. ภาควิชาโรคพืช คณะ
        เกษตร มหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์, กรุงเพฯ.
อารมย์   แสงวนิชย์. 2535. การใช้สารธรรมชาติป้องกันกำจัดศัตรูพืช. เอกสารกรมวชาการ กรมวิชาการเกษตร  กระทรวงเกษตร
               และสหกรณ์, กรุงทพฯ.  25 หน้า.
Agrios, G.N. 2005). Plant Pathology. 5th ed. Elsevier Academic Press, USA. 922 p.
Zhao, Y., Li, P., Huang, K., Wang, Y., Hu, H. and Sun, Y.. 2013. Control of postharvest soft rot
        caused by Erwinia carotovora of vegetables by strain of Bacillus amyloliquefaciens and its
        potential modes of action. World J. Microbiol. Biotechnol. 29: 411-420
พีรเดช  ทองอำไพ.  2529. ฮอร์โมนพืชและสารสังเคราะห์
วารสารวิชาการต่างๆ
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ประเมินจากผลการสอบและการทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงกิจกรรมในการสอนให้มากขึ้น เช่น ทักษะในการปฏิบัติจากตัวอย่างจริง การทดสอบสารควบคุมโรคพืช เป็นต้น
สาขามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4