การจัดการธุรกิจค้าปลีก

Retail Business Management

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจถึงความสำคัญของการบริหารการค้าปลีก บอกประเภทของกิจการค้าปลีกพร้อมทั้งอธิบายประเภทของกิจการค้าปลีกต่างๆ  อธิบายเลือกตำแหน่งที่ตั้ง และวิธีการจัดวางผังของร้านค้าปลีกได้ถูกต้อง สามารถบอกปัญหาเกี่ยวกับการบริหารค้าปลีกได้ และปฏิบัติตนตามกฎระเบียบของสังคม ระเบียบวินัย ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ต่อผู้ร่วมงาน และส่วนรวม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ความเข้าใจไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและในชีวิตประจำวันได้ 
ศึกษาหลักและพื้นฐานการดำเนินงานการค้าปลีก การจัดตั้งกิจการ การเลือกสถานที่ตั้ง การจำแนกประเภทกิจการ ลักษณะการดำเนินงานค้าปลีก การจัดซื้อ การกำหนดราคา ตราสินค้าหรือเครื่องหมายการค้าของกิจการค้าปลีก การพัฒนาภาพพจน์ของกิจการ การใช้เทคโนโลยีและการสร้างภาพลักษณ์ให้กับการค้าปลีก ปัญหาเกี่ยวกับการจัดการการค้าปลีก การนำผลการวิจัยมาใช้ประโยชน์ในการบริหารกิจการค้าปลีก
Study principles and foundation of retail business; business initiation; choice of location; classification of business; characteristics of retail business operation; procurement; pricing policy; brand or trademark of retail business; development of business image’ use of technology to create retail business image; problems of retail business operation; and application of research results in retail business management.
1-2 ชั่วโมง / สัปดาห์ สอนเสริมเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการเพิ่มเติม)
 บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม
 
1. สอดแรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือ วิชาชีพในเนื้อหารายวิชา   ข้อ 1
2. ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัย โดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลา ที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย
    ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย  ข้อ 2
1. การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลาตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย ข้อ 1
2. การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม   ข้อ 2
ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อน และการเข้าร่วมกิจกรรม 
3. ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจ
·      บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน
·      บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม
1. จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ  ข้อ 1
2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน  ข้อ 1,2
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน  ข้อ 2
2. ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา ข้อ 1
3. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงานการทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน
   การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน  ข้อ 2 
บัณฑิตมีความรอบรู้ สามารถสืบค้นข้อมูล และข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและสามารถประเมินข้อมูล แนวคิด และหลักฐานใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งานตามสถานการณ์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สามารถประยุกต์ใช้ความรู้จากทฤษฎีและประสบการณ์เพื่อคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ แก้ไขปัญหาและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างมีเหตุผล
1. การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ จากกรณีศึกษา ข้อ 2 
2. การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน  ข้อ 4 
3. การมอบหมายงาน แก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง ข้อ 2 
1. ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา ข้อ 2 
2. ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา ข้อ 4 
บัณฑิตมีความใฝ่รู้ มีความสามารถในการติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาตนเองและอาชีพ สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ สามารถสรุปประเด็นปัญหา และบูรณาการความรู้สู่การปฏิบัติ สามารถช่วยและเอื้อต่อการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม เข้าใจการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี
1. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำผู้ตาม  ข้อ 1
2. มอบหมายที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคล อื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา ข้อ 1
1. พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา ข้อ 1
2. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน ข้อ 1
·      บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์ำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม ข้อ 2
1. การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค ข้อ 2
2. ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม ข้อ 2
บัณฑิตแสดงออกถึงทักษะในการนำความรู้มาบูรณาการกับการปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องและเที่ยงตรง มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ การประยุกต์ใช้องค์ความรู้มาแก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนาตนเอง องค์กร ชุมชนและสังคม สามารถปรับตัวให้เข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน และสังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง
และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม   ข้อ 1
การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบท  
ต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม  ข้อ 2
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-On)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 4 5
1 BBABA302 การจัดการธุรกิจค้าปลีก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 9 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 สอบกลางภาค 20% สอบปลายภาค 20%
2 วิเคราะห์กรณีศึกษา รายงาน และการนำเสนอ - งานที่มอบหมาย / รายงาน (กลุ่ม) - แบบฝึกหัด / กรณีศึกษา (เดี่ยว, กลุ่ม) - การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน (กลุ่ม) ในการนำเสนอ การทำกิจกรรมกลุ่ม (Team-based Learning) และผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 16 สัปดาห์ 50%
3 การเข้าชั้นเรียน - การเข้าชั้นเรียน / การมีส่วนร่วม / การเข้าร่วมกิจกรรม และแสดงความคิดเห็น ตลอดภาคการศึกษา 10%
Levy & Weitz 2012 Retailing Management Mc Graw-Hill Inc
 ศิริวรรณ เสรีรัตน์ 2546 การบริหารการค้าปลีก บริษัทธรรมสาร จำกัด
 
การค้าปลีก Modern Retailing ชื่อผู้แต่ง รศ.สุมนา  อยู่โพธิ์
นิตยสารการตลาด เช่น Marketeer,BrandAge,Positioning และ Four P เป็นต้น
จักร  อินทรจักร  คู่มือการบริหารทรัพยากรบุคคล  กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์บุ๊กแบงค์.๒๕๔๔
หนังสือพิมพ์ธุรกิจ เช่น กรุงเทพธุรกิจ ฐานเศรษฐกิจ และผู้จัดการ เป็นต้น            
นิตยสารและเว็บไซต์เพิ่มเติมในการทำรายงาน เช่น นิตยสาร Positioning
หนังสือพิมพ์ธุรกิจ เช่น กรุงเทพธุรกิจ ฐานเศรษฐกิจ และผู้จัดการ เป็นต้น
 
- การสนทนากลุ่มและการตอบประเด็นซักถามระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอนที่คณะจัดทาขึ้น
- การฝึกทักษะเพื่อดูพฤติกรรมตอบสนองของผู้เรียน
- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
-  การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
-  การประเมินผู้สอนและผู้เรียนรายวิชาเช่น การทดสอบระหว่างเรียน
-  สังเกตปฏิกิริยา feed back ของนักศึกษาที่มีต่ออาจารย์
ในระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน ได้มีการทบทวนโดยการสอบในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ของนักศึกษา
สอบถามนักศึกษา ตรวจผลงานนักศึกษา สอบระหว่างภาคเรียนและปลายภาคเรียน
จากผลการประเมินและทวนผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาของนักศึกษา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดรายวิชา เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงแนวการสอนและวิธีการสอนทุก ๆ ภาคเรียนเพื่อให้นักศึกษาไม่เกิดความเบื่อหน่าย
- ปรับปรุงหลักสูตร/รายวิชาทุก ๆ 4 ปี เพื่อให้ทันสมัยและตรงกับตลาดแรงงาน
- ปรับเปลี่ยนผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมอง ทัศนคติ มีแนวคิดใหม่ ๆ จากผู้สอนหลาย ๆ ท่าน
- ผู้สอนต้องกระตือรือร้นในการค้นหาสิ่งแปลก ๆ ใหม่ ๆ ให้กับนักศึกษาอยู่ตลอดเวลา