ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ

Academic English

1.1 สามารถเลือกใช้คำศัพท์และสำนวนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการได้เหมาะสมตามสถานการณ์
1.2 สามารถพูดและเขียนอธิบาย เพื่อแสดงความคิดเห็นตามสถานการณ์เชิงวิชาการได้
1.3 สามารถประยุกต์ ทักษะ ฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาอังกฤษเพื่อสื่อสารในบริบทเชิงวิชาการได้
1.4 สามารถใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานเป็นภาษาอังกฤษในบริบทเชิงวิชาการได้
เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ฝึกปฏิบัติทักษะ การฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาอังกฤษ และการนำเสนองานในบริบททางวิชาการ
Practice English listening, speaking, reading, writing skills and giving presentations in academic contexts
๒๕ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
3.1 วันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.00 น. ห้องพักอาจารย์ ชั้น 1 อาคาร 7
3.2 Line ID: annita-tr , Email: annita_tr@hotmail.com เวลา 17.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
1.2.2 ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
1.2.3 ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2.1 สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
1.2.2 ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
1.2.3 ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.3.1 การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
1.3.2 การส่งรายงานตรงเวลา
1.3.3 ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 Lecture, Mind Mapping
2.2.2 Think Pair Share
2.2.3 Brain Storming
2.2.4 Collaborative Team Learning
2.2.5 Simulation
2.2.6 Peer to Peer
2.2.7 Online Mobile and Balance Learning
2.2.1 Lecture, Mind Mapping
2.2.2 Think Pair Share
2.2.3 Brain Storming
2.2.4 Collaborative Team Learning
2.2.5 Simulation
2.2.6 Peer to Peer
2.2.7 Online Mobile and Balance Learning
2.3.1 งานที่มอบหมาย
2.3.2 สถานการณ์จำลอง
2.3.3 การสอบ
2.3.4 ผลงาน
2.3.5 การนำเสนอผลงาน
3.1.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1 Lecture, Mind Mapping
3.2.2 Think Pair Share
3.2.3 Brain Storming
3.2.4 Collaborative Team Learning
3.2.5 Simulation
3.2.6 Peer to Peer
3.2.7 Online Mobile and Balance Learning
3.2.1 Lecture, Mind Mapping
3.2.2 Think Pair Share
3.2.3 Brain Storming
3.2.4 Collaborative Team Learning
3.2.5 Simulation
3.2.6 Peer to Peer
3.2.7 Online Mobile and Balance Learning
3.3.1 งานที่มอบหมาย
3.3.2 สถานการณ์จำลอง
3.3.3 การสอบ
3.3.4 ผลงาน
3.3.5 การนำเสนอผลงาน
 
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4..1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1Lecture, Mind Mapping
4.2.2 Think Pair Share
4.2.3 Brain Storming
4.2.4 Collaborative Team Learning
4.2.5 Simulation
4.2.6 Peer to Peer
4.2.7 Online Mobile and Balance Learning
4.2.1Lecture, Mind Mapping
4.2.2 Think Pair Share
4.2.3 Brain Storming
4.2.4 Collaborative Team Learning
4.2.5 Simulation
4.2.6 Peer to Peer
4.2.7 Online Mobile and Balance Learning
4.3.1 การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4.3.2 งานที่มอบหมาย
4.3.3 สถานการณ์จำลอง
4.3.4 ผลงาน
4.3.5 การนำเสนอผลงาน
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1. Lecture, Mind Mapping
5.2.2 Think Pair Share
5.2.3 Brain Storming
5.2.4 Collaborative Team Learning
5.2.5 Simulation
5.2.6 Peer to Peer
5.2.7 Online Mobile and Balance Learning
5.2.1. Lecture, Mind Mapping
5.2.2 Think Pair Share
5.2.3 Brain Storming
5.2.4 Collaborative Team Learning
5.2.5 Simulation
5.2.6 Peer to Peer
5.2.7 Online Mobile and Balance Learning
5.3.1 การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
5.3.2 สถานการณ์จำลอง
5.3.3 ผลงาน
5.3.4 การนำเสนอผลงาน
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
6.2 วิธีการสอน
6.3 วิธีการประเมินผล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษ 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 GEBLC103 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3, 3.2, 5.3 ทดสอบย่อย ครั้งที่ 1 และ 2 8 และ 16 ทดสอบย่อย ครั้งที่ 1 (10%) ทดสอบย่อย ครั้งที่ 2 (10%)
2 2.3, 3.2, 4.4, 5.3 สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 9 และ 17 สอบกลางภาค (20%) สอบปลายภาค (20%)
3 1.1, 1.2, 2.3, 3.2, 4.2, 4.4, 5.3 Class Assignments and English Presentation ตลอดภาคการศึกษา Class Assignments and English Presentation (30%)
4 1.3 Class Attendance ตลอดภาคการศึกษา (10%)
Bohlke, D., & Yeates, E. (2017). Keynote Combo Split 2A. Boston: Cengage Learning.
Online Practice through: https://myelt.heinle.com/ilrn/authentication/signIn.do?inst=MYELT
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลรายวิชาและแบบฝึกหัดออนไลน์
1.1 นักศึกษาเสนอแนะเนื้อหาในรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนำไปปรับปรุง
1.2 การประเมินผลการสอนโดยใช้แบบประเมินของฝ่ายวิชาการ กองการศึกษา
1.3 ประเมินผลการสอนโดยใช้ระบบออนไลน์
2.1 สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน
2.2 สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาเมื่อสิ้นสุดการเรียนแต่ละหน่วยเรียน
2.3 ประเมินจากคะแนนแบบฝึกหัดแต่ละบทเรียนและความเข้าใจเนื้อหา
2.4 ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา
 
3.1 ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยและมีระดับภาษาที่เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน
3.2 สำรวจรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนเรียนและปรับปรุงแบบกิจกรรมให้เหมาะสม
3.3 สรุปผลการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งเพื่อนำมาปรับปรุงครั้งต่อไป
ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบหรืองานที่มอบหมาย
5.1 ทบทวนเนื้อหาในบทเรียน โดยเลือกระดับของภาษาให้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน
5.2 มีการปรับปรุงเนื้อหาทุกปี ตามสภาวการณ์ใหม่ ๆ และตามความน่าสนใจ
5.3 ปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้มีความหลากหลายและสนองตอบต่อรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายของกลุ่มผู้เรียนหรือตามที่ได้ศึกษาวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
5.4 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะของนักศึกษาและของผู้ทรงคุณวุฒิที่ตรวจสอบรายวิชาในการประเมินคุณภาพการศึกษาประจำปี