การผลิตสุกร

Swine Production

1. รู้สภาพการผลิต ประเภท และพันธุ์สุกร
2. เข้าใจการสืบพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์สุกร
3. เข้าใจโรงเรือนและอุปกรณ์ในฟาร์มสุกร
4. เข้าใจอาหารและการให้อาหารสุกร การจัดการสุกรตามชีพจักร โรคพยาธิสุกร
5. มีทักษะในการผลิตสุกร
6. มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพการผลิตสุกร
เพื่อเป็นตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อให้ทันสมัย สอดคล้องกับเหตุการณ์ สภาพการผลิตสุกรในปัจจุบัน โดยเฉพาะระบบการผลิตสุกรในทางการค้าซึ่งมีการนำเทคโนโลยี และวิทยาการใหม่ ๆ มาใช้ในการจัดการมากขึ้น
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและสภาพการผลิตสุกรภายในประเทศและต่างประเทศ ประเภท และพันธุ์สุกร การคัดเลือกและการผสมพันธุ์ การวางผังฟาร์ม โรงเรือนและอุปกรณ์ อาหารและการให้อาหาร การบริหารและการจัดการฟาร์มสุกร มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสุกร การสุขาภิบาลและป้องกันโรคพยาธิต่างๆ ธุรกิจและการตลาดสุกร
จัดเวลาให้นักศึกษาเข้าพบเพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง โดยจะแจ้งวันและเวลาให้นักศึกษาทราบภายหลัง
˜1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบบรรยาย
 
1.การฝึกตีความ
2.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
3.การประเมินตนเอง
 
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความ ก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโน โลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
2.การสอนแบบบรรยายและ
เชิงอภิปราย
 
1.การนำเสนองาน
2.ข้อสอบอัตนัย
3. ข้อสอบปรนัย
 
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1.การเรียนแบบสร้างแผนผัง
ความคิด (Concept Mapping)
2.การสอนแบบ Brain
Storming Group
3.การสอนแบบการอภิปราย
กลุ่มย่อย (Small - Group
Discussion)
1.การสังเกต
2.การนำเสนองาน
3. ประเมินจากการแสดงความคิดเห็น
4.ข้อสอบอัตนัย
5. ข้อสอบปรนัย
 
˜4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1. การสอนแบบสถานการณ์
จำลอง (Simulation)
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
(Participatory Learning)
3. จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน
และนอกชั้นเรียนที่นักศึกษา
มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น 4.มอบหมายงานกลุ่มและมีการ
เปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจ-
กรรมที่มอบหมาย เพื่อให้
นักศึกษาทำงานได้ร่วมกับ
ผู้อื่น
1.โครงการกลุ่มและรายงานกลุ่ม
2. การนำเสนองาน
3. การประเมินโดยเพื่อน
 
˜5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.กระบวนการสืบค้น (Inquiry
Process) และแนะนำการ
สืบค้นด้วยเทคโนโลยีสาร
สนเทศ
2.ใช้ Power point และมีการ
นำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์
เนตร่วมด้วย
 
1.โครงการกลุ่มและรายงานกลุ่ม
2. การนำเสนองานรายงาน
˜6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
˜6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
˜6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. การสอนแบบกรณีศึกษา
(Case Studies)
2. การสอนแบบสถานการณ์
จำลอง (Simulation)
3. การสอนแบบ Problem
Based Learning
 
1. สถานการณ์จำลอง
2. การนำเสนองาน
3. แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา เป็นหลัก เป็นหลัก เป็นรอง เป็นหลัก เป็นรอง เป็นรอง
1 BSCAG205 การผลิตสุกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 วัดความรู้วิชาการ สอบกลางภาค และปลายภาคการศึกษา 9 และ 17 กลางภาค 23% และปลายภาค 25%
2 ปฏิบัติการผลิตสุกร วัดผลและรายงานการปฏิบัติ 19 ครั้ง ตลอดภาคการศึกษา 32%
3 กิจนิสัยการปฏิบัติตน วัดจากความประพฤติ ความขยัน ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 จิตพิสัยการ กิจกรรม ความขยันเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
สมบัติ พนเจริญสวัสดิ์. 2544. เอกสารประกอบการสอนวิชาการผลิตสุกร. สาขาวิชาสัตวศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีการเกษตร, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก, พิษณุโลก.
ทาตระกูล.2546. สุกรและการผลิตสุกร. ภาควิชาสัตวศาสตร์,คณะเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่. 374 น.

อรรณพ คุณาวงษ์กฤต. 2545. วิทยาการสืบพันธุ์สุกร. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,

. 408 น.

ปรียพันธุ์ อุดมประเสริฐ. 2542. การจัดการสุขภาพและผลผลิตในฟาร์มสุกร. อุดมสุขการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 199 น.
ศรีสุวรรณ ชมชัย. 2542. คู่มือปฏิบัติการผสมเทียมในสุกร. สัตว์เศรษฐกิจ, กรุงเทพฯ. 285 น.
วารสารสุกรสาส์น(เกษตรศาสตร์) วารสารโลกสุกร ศูนย์สารสนเทศ กรมปศุสัตว์ http://www.dld.go.th

Livestock and Poultry : World Markets and Trade
 
1.1 ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับและเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชาผ่านระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
2.1 การประเมินการสอนจากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
3.1 ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา มีการประชุมอาจารย์ เพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ
เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณา
จากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมใน
วิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
4.2 การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการเรียนของ นักศึกษา ผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป